สัมมนา การสกัดวัตถุดิบพืชสมุนไพรไทย เพื่อสร้างมูลค่าสินค้า ขั้นพื้นฐาน

รหัสหลักสูตร: 37488

จำนวนคนดู 2751 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
สมุนไพรเป็นผลิตผลทางการเกษตรชนิดหนึ่ง ซึ่งในเรื่องการควบคุมสารสำคัญในสมุนไพรยังไม่มีการกำหนดวิธีการเพื่อทำให้เกิดมาตรฐาน การสกัดสมุนไพร เป็นอีกหนึ่งวิธีที่ช่วยควบคุมคุณภาพของสมุนไพรให้มีมาตรฐานคงที่ รวมถึงเป็นการเพิ่มอายุการเก็บรักษาและความคงตัวของผลิตภัณฑ์ เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและตรงตามความต้องการของผู้บริโภค สามารถเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ได้
หัวข้ออบรมสัมมนา

08.00-09.00 ลงทะเบียน

09.00-10.30 องค์ความรู้ทฤษฎีหลักการวิธีการสกัด สมุนไพรที่ใช้สกัด การเก็บรักษา ประยุกต์ใช้และการทดสอบความคงตัวของสารสกัดจากสมุนไพร

11.00-12.00 เยี่ยมชมศูนย์พัฒนายาไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก

พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.00-14.00 องค์ความรู้การพัฒนาผลิตภัณฑ์ยาแผนโบราณ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และเครื่องสำอาง จากสารสกัด

14.00-16.30 ฝึกปฏิบัติการ WorkShop 
การสกัดสมุนไพรเบื้องต้น
การผลิตยาหม่องจากสารสกัดจากสมุนไพร

16.30.17.00 ตอบข้อซักถาม/อภิปรายสรุปกิจกรรม/แจกเกียรติบัตรแก่ผู้เข้าร่วมฝึกอบบรม / จบกิจกรรม

วันศุกร์ที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 9.00-17.00 น.
ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
คำค้นประกาศนี้ Tags: สกัดสมุนไพร, สัมมนาสกัดพืชสมุนไพร

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

หลักสูตร เจาะลึก...ขั้นตอนการยื่นกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อรับรองหลักสูตรฝึกอบรมแ...

ขอเชิญ อบรม หลักสูตร ขั้นตอนการยื่นกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อรับรองหลักสูตรและค่าใช้จ่าย #เน้นเนื้อหาที่สอดคล้องกับกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน พร้อมทั้งเพื่อให้ผู้ที่รับผิดชอบในการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กร เรียนรู้ขั้นตอน

เทคนิคการเช็คสต็อกอย่างมีประสิทธิภาพ ( Efficient Stock & Inventory Control Tech...

การควบคุมสินค้าคงคลัง เป็นสิ่งที่จำเป็นและสำคัญมาก โดยใช้สำหรับแสดงปริมาณและชนิดของสินค้าคงคลังว่ามีมากน้อยเพียงใดในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง และเพื่อสามารถติดตาม ควบคุมได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยให้มีประมาณสินค้าคงคลังไม่มากจนกลายเป็นต้นทุนที่จมอยู่ในคลังสินค้าแล