การปฐมพยาบาล&กู้ชีพเบื้องต้น First Aid

รหัสหลักสูตร: 38683

จำนวนคนดู 1305 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
          การเกิดอุบัติเหตุเป็นสิ่งที่ไม่มีใครที่จะสามารถคาดคิดได้ เพราะอุบัติเหตุมักจะเกิดขึ้นได้ตลอดเวลาเสมอและแต่ละครั้งที่เกิดขึ้นก็มักจะมากับความเสียหายไม่ว่าจะเป็นชีวิต หรือ ทรัพย์สินเงินทองอีกทั้งการเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากสภาพร่างกายหรือการเจ็บป่วยทั่วไป
หัวข้ออบรมสัมมนา
1. หลักการปฐมพยาบาล/คุณสมบัติของผู้ปฐมพยาบาล

2. การประเมินผู้บาดเจ็บระยะเร่งด่วนและทั่วไป

3. การปฐมพยาบาลผู้บาดเจ็บที่มีภาวะช็อค หมดสติ เป็นลม

4. บาดแผล ชนิดของบาดแผล และการปฐมพยาบาลบาดแผล

5. การตกเลือด และ การห้ามเลือด

  • ฝึกปฏิบัติการห้ามเลือดโดยใช้ผ้ายืดและผ้าสามเหลี่ยม
  • การห้ามเลือดกรณีกระดูกหักแบบเปิดหรือมีวัสดุปักคา

6. การบาดเจ็บกล้ามเนื้อ ข้อ และกระดูก และการปฐมพยาบาล

  • ฝึกปฏิบัติการใช้ผ้ายืดสำหรับบาดแผลปิด

7. ฝึกปฏิบัติการดามกระดูก

8. การปฐมพยาบาลผู้บาดเจ็บจากไฟฟ้า ไฟไหม้น้ำลวก

9. การปฐมพยาบาลผู้บาดเจ็บจากสารพิษ สิ่งแปลกปลอม

10. การเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บ ท่าและวิธีของการเคลื่อนย้ายที่เหมาะสม

  • ฝึกปฏิบัติการเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บโดย Board

ปฏิบัติการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน 

1. การประเมินผู้บาดเจ็บที่มีภาวะหยุดหายใจและหัวใจหยุดเต้น

2. ข้อบ่งชี้ในการกู้ชีวิต

3. การสาธิตการกู้ชีวิตในผู้ใหญ่ เด็กเล็ก และเด็กโต

4.ฝึกปฏิบัติการกู้ชีวิต

5. สาธิตการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าภายใต้การควบคุมของแพทย์

6. บรรยาย พร้อมยกตัวอย่างประกอบ และฝึกปฏิบัติทุกขั้นตอน

วันศุกร์ที่ 28 เมษายน 2560
ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
คำค้นประกาศนี้ Tags: first aid, cpr, การกู้ชีพเบื้องต้น, การปฐมพยาบาลเบื้องต้น, hrdzenter, ปฏิบัติจริง , มีใบcer

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

เทคนิคการเช็คสต็อกอย่างมีประสิทธิภาพ ( Efficient Stock & Inventory Control Tech...

การควบคุมสินค้าคงคลัง เป็นสิ่งที่จำเป็นและสำคัญมาก โดยใช้สำหรับแสดงปริมาณและชนิดของสินค้าคงคลังว่ามีมากน้อยเพียงใดในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง และเพื่อสามารถติดตาม ควบคุมได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยให้มีประมาณสินค้าคงคลังไม่มากจนกลายเป็นต้นทุนที่จมอยู่ในคลังสินค้าแล