กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ที่มีผลต่อการทำงานของนักบัญชี (The Civil and Commercial Code)

รหัสหลักสูตร: 39345

จำนวนคนดู 1643 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่มีผลต่อการทำงานของนักบัญชี

สรุปสาระสำคัญประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์สร้างความเข้าใจในประเด็นจำเป็นที่เกี่ยวข้องกับนักบัญชี

ขจัดความสับสนในการตีความ เพื่อปรับปรุงบัญชีการเงินให้ถูกต้องตามกฎหมาย

ประมวลรัษฎากร และประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เกี่ยวข้องกันอย่างไร

ทำความเข้าใจ “แพ่งพิสดาร” ในบทบาทของนักบัญชี

หัวข้ออบรมสัมมนา
หัวข้อสัมมนา

1. กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ จำเป็นต่อนักบัญชีและกิจการอย่างไร

2. เปรียบเทียบนิยามทางกฎหมาย กับนิยามทางบัญชี ประเด็นที่พบบ่อยครั้ง

- “ธุรกรรม” ทางบัญชี กับ “นิติกรรม” ตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

- “หนี้” ทางบัญชี กับ “วัตถุแห่งหนี้” ตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

- “เกณฑ์คงค้าง”(Accrual Basis) ทางบัญชี กับ “เกณฑ์สิทธิ”(Accrual Basis) ตามประมวลรัษฎากร

- “นิติกรรม” กับ “สัญญา” ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

- “สัญญาเช่าทางการเงิน” (Financial Lease) กับ “สัญญาเช่าดำเนินการ” (Operation Lease) ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

- “ส่วนควบ” ทางกฎหมาย กับนิยามทางบัญชี

3. สาระสำคัญของประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่เกี่ยวข้องกับนักบัญชี

3.1หลักทั่วไป

เนื้อสัญญาสำคัญกว่าชื่อของสัญญา จุดที่สรรพากรใช้ตรวจสอบ

- การใช้สิทธิโดยสุจริต

- การรับรองลายมือชื่อ

- การแสดงจำนวนเงินเป็นลายลักษณ์อักษร

- การใช้ชื่อสัญญาไม่ตรงกับเนื้อหาสัญญา

- การใช้ชื่อสัญญาเพื่อเลี่ยงภาระภาษี

- การแสดงเจตนา/การสำคัญผิดในสาระสำคัญ หรือคุณสมบัติของบุคคล

- การกระทำอันเป็นโมฆะ /โมฆียะ , สัญญาที่ทำแล้วเป็นโมฆะ /โมฆียะ

- การนับระยะเวลาทางประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

- อายุความสะดุดหยุดลงได้ในกรณีใดบ้าง

- ขาดอายุความ ทำอย่างไรไม่ให้เสียหาย

- หนี้ที่ขาดอายุความฟ้องร้องได้หรือไม่

- หนี้ขาดอายุความกับการติดหนี้สูญ

3.2 หนี้

วัตถุแห่งหนี้ / ผลแห่งหนี้ / ลูกหนี้ผิดนัด / การใช้สิทธิ์เรียกร้องของลูกหนี้ (เจ้าหนี้ใช้แทน)

การรับช่วงสิทธิ์ / รับช่วงทรัพย์ / สิทธิยึดหน่วง / บุริมสิทธิ

การระงับหนี้ / ปลดหนี้ / หักกลบลบหนี้ / แปลงหนี้ใหม่

มัดจำและการกำหนดเบี้ยปรับ

3.3 นิติกรรมสัญญา

- สัญญาซื้อขาย/ ขายฝาก/ ขายตามตัวอย่าง/ ขายตามคำพรรณนา/ ขายเผื่อชอบ/ ขายทอดตลาด

- ความแตกต่างของ เช่าทรัพย์ / เช่าซื้อ / ซื้อขายเงินผ่อน

- สัญญาจ้างแรงงาน/ จ้างทำของ / รับขน

- สัญญากู้ยืม/ ค้ำประกัน

- จำนอง / จำนำ/ ฝากทรัพย์

- ตัวแทน/นายหน้า

- การประนีประนอมยอมความ

- การเลิกสัญญา

3.4 เช็ค / ตั๋วแลกเงิน

- ผู้ทรงเช็คคือใคร มีความสำคัญอย่างไร

- ความแตกต่างของเช็คขีดคร่อม/เช็คไม่ขีดคร่อม

- ตั๋วเงินปลอม ตั๋วเงินถูกลัก ตั๋วเงินหายต้องทำอย่างไร

3.5 หุ้นส่วนและบริษัท

- การประชุมผู้ถือหุ้น / ประชุมสามัญ / ประชุมวิสามัญ

- คำบอกกล่าวเรียกประชุมใหญ่ผู้ถือหุ้นต้องลงโฆษณาหรือไม่

- กรณีลงมติพิเศษต้องแจ้งก่อนวันนัดประชุมกี่วัน

- การเพิ่มทุน/ลดทุน

- การควบบริษัท / การแปรสภาพห้างหุ้นส่วน

- เงินปันผลและเงินสำรอง

- เงินปันผลระหว่างกาลจ่ายได้เมื่อไหร่

- ทุกคราวที่จ่ายเงินปันผล บริษัทต้องมีทุนสำรองไว้อย่างไร

- เงินปันผลที่ค้างจ่าย คิดดอกเบี้ยกับบริษัทได้หรือไม่

- บัญชีงบดุล / สมุดบัญชี

- การสอบบัญชี / การชำระบัญชี / การถอนทะเบียน

3.6 ทรัพย์สิน

กรรมสิทธิ์ / สิทธิครอบครอง / สิทธิอาศัย

ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์

4. คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

***กรุณาสำรองที่นั่งก่อน อบรม 1 สัปดาห์***

รายละเอียดของหลักสูตร http://dst.co.th/index.php?option=com_booking&view=booking&cid=6655&Itemid=145&lang=th

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ คุณสมฤทัย

e-mail : [email protected]

โทร 086-325-1614


กำหนดการสัมมนา

วันที่ : 27 มิถุนายน 2560

เวลา : 09.00-16.30 น.

ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
คำค้นประกาศนี้ Tags: กฏหมาย, แพ่งและพาณิชย์, อบรมกฏหมาย

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด