หลักสูตร MS Access เพื่อการจัดการข้อมูล และออกแบบรายงานอย่างมีประสิทธิภาพ

รหัสหลักสูตร: 39789

จำนวนคนดู 638 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
  1. จัดการ “ข้อมูลจำนวนมาก” ได้ในระยะเวลารวดเร็ว ประหยัดเวลาในการทำงาน 
  2. ใช้ข้อมูลเพื่อติดตาม ตรวจสอบ บริหารงาน และสรุปข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น 
  3. เชื่อมต่อ Excel เพื่อนำเข้าข้อมูลได้อย่างง่ายและสะดวก 
  4. วิเคราะห์ข้อมูล พร้อมออกแบบรายงานได้หลายรูปแบบ 
หัวข้ออบรมสัมมนา
ประโยชน์และข้อดีของ Microsoft Access

ความแตกต่างระหว่าง MS Access และ Excel เพื่อการนำมาใช้งานอย่างเหมาะสม

Microsoft Access ใช้กับงานใดบ้าง

งานบุคคล (จัดเก็บฐานข้อมูลพนักงาน / ประเมินผล / ติดตามงานในองค์กร)

งานจัดซื้อ (ระบบซื้อ-ขายสินค้า / ติดตามใบสั่งซื้อ)

งานคลังสินค้า (ระบบ เบิก-ยืม-คืน สินค้า / บันทึกและบริหารสินค้าคงคลัง)

งานบัญชี (ควบคุมลูกหนี้ / พิมพ์เช็ค / จัดการสินทรัพย์)

งาน Logistics

งานลูกค้าสัมพันธ์

ฯลฯ

ตัวอย่างขั้นตอนการใช้โปรแกรม

การสร้างฐานข้อมูล

การออกแบบตาราง และโครงสร้างข้อมูล

การป้อนข้อมูลบน TABLE

การดึงข้อมูลจาก Excel มาใช้

การออกรายงานเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล

20 มิถุนายน 2560 เวลา 09.00-16.00 น
ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

หลักสูตร เจาะลึก...ขั้นตอนการยื่นกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อรับรองหลักสูตรฝึกอบรมแ...

ขอเชิญ อบรม หลักสูตร ขั้นตอนการยื่นกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อรับรองหลักสูตรและค่าใช้จ่าย #เน้นเนื้อหาที่สอดคล้องกับกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน พร้อมทั้งเพื่อให้ผู้ที่รับผิดชอบในการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กร เรียนรู้ขั้นตอน

เทคนิคการเช็คสต็อกอย่างมีประสิทธิภาพ ( Efficient Stock & Inventory Control Tech...

การควบคุมสินค้าคงคลัง เป็นสิ่งที่จำเป็นและสำคัญมาก โดยใช้สำหรับแสดงปริมาณและชนิดของสินค้าคงคลังว่ามีมากน้อยเพียงใดในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง และเพื่อสามารถติดตาม ควบคุมได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยให้มีประมาณสินค้าคงคลังไม่มากจนกลายเป็นต้นทุนที่จมอยู่ในคลังสินค้าแล