รวย ด้วย บัญชี

รหัสหลักสูตร: 42097

จำนวนคนดู 1526 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd

 ในการดำเนินธุรกิจไม่ว่าจะประเภทใดย่อมมีวัตถุประสงค์เดียวกันคือ ผลตอบแทนหรือกำไรที่จะได้รับ การที่ธุรกิจจะประสบความสำเร็จได้นั้น ต้องประกอบด้วยระบบการจัดการที่ดี การขายและการผลิตที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีระบบการจัดการด้านบัญชีที่มีคุณภาพอีกด้วย ดังนั้น ธุรกิจที่ดี จึงต้องมีการวางระบบบัญชีที่ดี ซึ่งเป็นลักษณะของการจัดเตรียมเกี่ยวกับรูปแบบเอกสารระบบบัญชี และรายงานที่มีความถูกต้อง และสอดคล้องกับระบบบัญชี ด้วยเหตุผลดังกล่าว งานวางระบบบัญชีของธุรกิจที่จำเป็นต้องกระทำด้วยความรู้จริง รอบคอบ และรัดกุมในทุกด้าน และให้สอดคล้องกับความต้องการของฝ่ายบริหาร เพื่อทำให้องค์กรได้รับผลประโยชน์สูงสุดจากการมีระบบบัญชีที่ดี

ประโยชน์ที่ผู้อบรมได้รับ

1. ทราบถึงความจำเป็นของระบบบัญชีที่มีคุณภาพ

2. สามารถวางระบบบัญชี ระบบเอกสาร และการตรวจสอบได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ

3. สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในหน่วยงานให้เกิดต้นทุนที่ลดลงหรือได้กำไรเพิ่มขึ้นจากการวางระบบบัญชีที่ถูกต้อง รัดกุม

ระยะเวลาอบรม : 1 วัน

คุณสมบัติผู้เข้าอบรม : ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่บัญชี เจ้าหน้าที่วางระบบบัญชี

หัวข้ออบรมสัมมนา
วันอาทิตย์ที่ 23 กรกฎาคม 2560 เวลา08.30-16.30น.

รวย ด้วย บัญชี

กรณีศึกษาวางระบบภาษี และแก้ปัญหาภาษีอากร

 1) ความรู้ทางกฏหมายที่ผู้ทำธุรกิจต้องรู้

 2) ภาษีมูลค่าเพิ่ม

            2.1) หลักการเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม

            2.2) กิจกรรมที่อยู่ในข่ายต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม

            2.3) กิจกรรมที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม

            2.4) ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม

            2.5) ฐานภาษี

            2.6) อัตราภาษี

            2.7) การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม

            2.8) ความรับผิดชอบในการเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม

            2.9) บทกำหนดโทษ

            2.10) แบบคำร้อง และแบบแสดงรายการ

 3) ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

            3.1) หลักการเกี่ยวกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย

            3.2) ผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย

            3.3) หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้

            3.4) ประเภทเงินได้ที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย

            3.5) หนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่าย

        3.6) บทกำหนดโทษ

            3.7) แบบแสดงรายการภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายประเภทต่างๆ

4) ภาษีเงินได้นิติบุคคล

            4.1) เข้าใจหลักการในการจัดทำงบการเงิน

            4.2) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีเงินได้นิติบุคคล

            4.3) ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

            4.4) เงินได้ที่ต้องเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล

        4.5) รอบระยะเวลาบัญชี และการเปลี่ยนรอบระยะเวลาบัญชี

            4.6) การยื่นแบบแสดงรายการผู้มีเงินได้กลางปี และประจำปี

            4.7) บทกำหนดโทษ

            4.8) แบบแสดงรายการภาษีเงินได้ประเภทต่างๆ

  5) กรณีศึกษาภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ที่ผู้ทำธุรกิจต้องใส่ใจ

5.1) การหักภาษี ณ ที่จ่าย กรณีจ่ายเงินตั้งแต่ 1,000 บาทขึ้นไปมีหลักเกณฑ์อย่างไร

5.2) กรณีชำระค่าบริการด้วย เงินสด, เช็ค, เช็คลงวันที่ล่วงหน้า ต้องหัก และปฏิบัติอย่างไร

5.3) ไม่ได้หัก หรือผู้รับเงินไม่ได้หัก แก้ไขอย่างไร

5.4) นางทางปฏิบัติในการขอคืนภาษีหัก ณ ที่จ่าย กรณีถูกหักไว้เกิน

5.5) ค่านายหน้าคำนวณหักภาษีนะที่จ่ายอย่างไร

5.6) ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าเดินทางถือเป็นไงด้

5.7) ค่าน้ำมันรถ กรณีพนักงานนำรถมาใช้ ถือเป็นเงินได้ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายหรือไม่

5.8) การจ่ายค่าลิขสิทธิ์ ค่าจ้างค่าทำของ ต้องหักนะที่จ่ายอย่างไง

5.9) การจ่ายค่าบริการอินเทอร์เน็ต และค่าเช่าพื่นที่เว็บซ์ ต้องหักภาษี หรือ ไม่

5.10) ค่าเช่า / เงินประกันการเช้า หักอย่างไรให้ถูกต้อง

5.11) การซื้อสินค้าพร้อมขนส่งหักภาษี ณที่จ่าย

5.12) จ่ายค่าบริการให้ส่วนลดเงินสด / ส่วนลดการค้า ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายหรือไม่

5.13) จ่ายค่าบริการไปยังต่างประเทศ หักหรือไม่อย่างไร

5.14) การให้ส่วนลดเงินสด / ส่วนลดการค้า ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายหรือไม่

5.15) จ้างก่อสร้างอาคาร แต่แยกสัญญารับจ้างกับซื้อวัสดุ ต้องหักภาษีอย่างไร

5.16) เงินมัดจำ, เงินล่วงหน้า , เงินประกันผลงาน หักหรือไม่อย่างไร

 6) กรณีศึกษาภาษีมูลค่าเพิ่ม ที่ผู้ทำธุรกิจต้องปฏิบัติให้ถูกต้อง

            6.1) จุดความรับผิดทางภาษีของธุรกิจแต่ละประเภท

            6.1.1) ธุรกิจขายสินค้า

            6.1.2) ธุรกิจให้บริการ

            6.1.3) ธุรกิจขายสินค้าพร้อมบริการ

            6.1.4) ธุรกิจบริการพร้อมจัดหาสินค้า

            6.2) การจัดทำรายงานภาษีมูลค่าเพิ่ม และยื่นแบบได้อย่างถูกต้อง

            6.3) การออกใบเพิ่มหนี้ / ใบลดหนี้

            6.4) ภาษีมูลค่าเพิ่ม กรณีการให้ส่วนลด เงินสด / ส่วนลดการค้า

            6.5) ภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับเงินมัดจำ, เงินล่วงหน้า, เงินประกันผลงาน

            6.7) ภาษีซื้อต้องห้าม (ห้ามขอคืนแต่ถือเป็นรายจ่าย)

            6.8) ภาษีซื้อต้องห้าม (ห้ามขอคืนและไม่เป็นรายจ่าย)

            6.9) การจำหน่ายสินค้าต่ำกว่าราคาทุน ทำได้ หรือไม่มีผลกระทบอย่างไร

            6.10) ผลกระทบกรณีสินค้าขาด หรือเกินรายงาน

            6.11) แนวปฏิบัติกรณีเลิกใช้ทรัพย์สิน

            6.12) แนวปฏิบัติในการทำลายสินค้าคงเหลือ

            6.13) ภาษีซื้อค่าไฟฟ้า / ค่าก่อสร้างโรงงานที่ระบุที่อยู่ไม่ตรงกับสถานที่ประกอบการขอคืนภาษีได้ หรือไม่

            6.14) ภาษีซื้อจากการนำเข้าสินค้า และบริการ

 7) กรณีศึกษาการรับรู้รายได้ และรายจ่ายตามประมวลรัษฎากร

            7.1) การรับรู้รายได้ทางบัญชี และภาษีอากร

            7.1.1) การรับรู้รายได้ตามเกณฑ์สิทธิ และอื่นๆ

            7.1.2) การรับรู้รายได้การขายสินค้า

            7.1.3) การรับรู้รายได้เงินมัดจำ, เงินรับล่วงหน้า

            7.1.4) การรับรู้รายได้เงินปันผล และส่วนแบ่งกำไร

            7.1.5) การรับรู้รายได้ตามมาตรา 65 ทวิ ที่อาจจะถูกประเมินเพิ่มเติม

            7.2) การรับรู้จ่ายทางทางบัญชี และภาษีอากร

            7.2.1) การรับรู้รายจ่ายตามมาตรา 65 ทวิ

            7.2.2) จ่ายค่าเช่าบ้านให้พนักงานถือเป็นรายจ่ายได้หรือไม่ มีผลกระทบอย่างไร

            7.2.3) ค่ารักษาพยาบาล / ค่าเบี้ยประกัน ถือแป็นรายจ่ายต้องห้าม หรือ ไม่

            7.2.4) การรับรู้ต้นทุนทรัพย์สิน

            7.2.5) การคำนวณดอกเบี้ยเป็นต้นทุนของสินทรัพย์

        7.2.6) การคำนวณต้นทุนกองสร้างอาคาร

            7.2.7) การคำนวณค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน และการหักค่าเสื่อมราคาในอัตราพิเศษ

            7.2.8) การวางแผนภาษีจากการเลิกใช้ทรัพย์สิน หรือทรัพย์สินที่ชำรุดเสียหาย

            7.2.9) การตัดหนี้สูญ เป็นค่าใช้จ่ายทางบัญชีและภาษีอากร

            7.2.10) การวางแผนเพื่อรับมือรายจ่ายต้องห้าม ตามมาตรา 65 ตรี

7.3) การวางแผนภาษีจากรายได้ที่ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีเงินได้

            7.3.1) เงินปันผล

            7.3.2) รายได้จากการประกอบการอบรม เพื่อ พัฒนาผีมือลูกจ้าง

7.4) การวางแผนภาษีจาก รายจ่ายที่หักค่าใช้จ่ายได้เพิ่มขึ้น รายจ่ายหักได้เพิ่ม เช่น

            7.4.1) ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการฝึกอบรม และ พัฒนาฝีมือแรงงาน

            7.4.2) เงินบริจาคเพื่อสนับสนุนการศึกษา

            7.4.3) ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการอำนวยความสะดวก และการทำงานของคนพิการ

7.5) จัดทำประมาณการภาษีเงินได้ และยื่นแบบ ภ.ง.ด. ไม่ให้ขาดไปเกิน 25 %

7.6) การปรับปรุงกำไรสุทธิทางบัญชี เป็นกำไรสุทธิทางภาษี

7.7) รายการทางบัญชีที่ต้องนำมาพิจารณาในการปรับปรุงงบการเงิน

7.8) วิธีการคำนวณกำไรสุทธิเพื่อปรับปรุงภาษีอากรหลังปรับปรุง

วัตถุประสงค์

1. เพื่อให้ผู้ประกอบการมีระบบบัญชีที่สอดคล้องกับประเภท(ลักษณะเฉพาะ)ของสถานประกอบการ

2. เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถคำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์และจัดทำรายงานสรุปเกี่ยวกับต้นทุน การผลิต

3. เพื่อให้ผู้ประกอบการมีแผนการทางการเงินในรูปงบประมาณประจำปี

4. เพื่อใช้ในการอธิบายความสามารถขององค์กร และให้มีข้อมูลที่เพียงพอต่อฝ่ายบริหารในการตัดสินใจ

5. เพื่อให้พนักงานมีความเข้าใจและเห็นประโยชน์ของการจัดทำข้อมูลทางการเงินทั้งในรูปการจัด

6. เตรียมเอกสารและการบันทึกให้มีประสิทธิภาพ รวดเร็วในการปฏิบัติงาน

ประโยชน์ที่จะได้รับ

1. มีระบบบัญชีที่ถูกต้อง เปิดเผยชัดเจน โปร่งใสใช้ในการวิเคราะห์ได้

2. มีแนวความคิดเกี่ยวกับระบบบัญชีต้นทุนประเภทต่างๆ ที่ถูกต้องสอดคล้องกับกิจกรรมการผลิต

3. สถานประกอบการมีข้อมูลที่ถูกต้องเหมาะสมทันเวลา สามารถกำหนดจุดชี้วัดสำคัญของธุรกิจ

4. สามารถติดตามควบคุม ตัดสินใจ ดำเนินการแก้ไขปัญหา ได้ทันท่วงที

5. พนักงานผู้ปฏิบัติงานได้รับความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องสามารถปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมาย

6. มีการคัดเลือกโปรแกรมบัญชีสำเร็จรูปที่เหมาะสมกับสถานประกอบการนั้นๆและสามารถออกแบบ

7. แฟ้มปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ


ภาคการบรรยาย1วัน& ภาคปฎิบัติ1วัน (2 วัน 16 ชั่วโมง)

ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
คำค้นประกาศนี้ Tags: อบรม, อาชีพ, สปา, ธุรกิจ, เครื่องสำอาง, สัมมนา

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

หลักสูตร การตรวจประเมินผู้ขายอย่างมืออาชีพ (Supplier Audit as Professional)

การตรวจประเมินผู้ขายนั้น เป็นหน้าที่หนึ่งของหน่วยงานจัดซื้อ/จัดหา ที่สำคัญมากๆ และ การตรวจประเมินผู้ขาย อยู่ภายใต้กระบวนการคัดเลือกผู้ขาย ซึ่งจะได้เรียนรู้ คุณสมบัตการแต่งตั้งทีมในการคัดเลือกผู้ขาย, กระบวนการตรวจประเมิน, เทคนิคในการเป็นผู้ตรวจประเมิน