วิธีวิเคราะห์ต้นทุนและราคาขายของซัพพลายเออร์

รหัสหลักสูตร: 42834

จำนวนคนดู 1459 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
ประโยชน์ที่จะได้รับ
  • เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมทราบเทคนิควิธีการวิเคราะห์ต้นทุนและราคาขายของซัพพลายเออร์
  • เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้เรียนรู้วิธีวิเคราะห์ต้นทุนและราคาของซัพพลายในงานจัดซื้อกับวิทยากรที่มีประสบการณ์อย่างโชกโชน
  • เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรมไปประยุกต์ใช้ในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ


หัวข้ออบรมสัมมนา
หัวข้อการบรรยาย (เวลา 09.00 – 16.00 น.)
  •  ซัพพลายเออร์มีหลักการตั้งราคาอย่างไร
  •  การวิเคราะห์ราคา (Price analysis)
  •  การวิเคราะห์ต้นทุน (Cost analysis)
  •  คำนวณส่วนลด (Discounts)
  •  ต้นทุนรวมหมด (TCO- Total Cost of Ownership)
  •  การวิเคราะห์ต้นทุนทางตรงและทางอ้อม (Direct & indirect cost)
  •  เส้นทางการเรียนรู้และเส้นประสบการณ์ (Learning curve)
  •  ต้นทุนที่แท้จริงและต้นทุนของการเพิ่มคุณค่า (Real unit cost & Value added cost)
  •  การวิเคราะห์เมื่อซัพพลายเออร์เสนอราคามาหลายแบบให้เลือก ( Analyzing the supplier Quotation)


9 สิงหาคม 2560


ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
คำค้นประกาศนี้ Tags: งานจัดซื้อ, อบรม, สัมมนา, การคิดวิเคราะห์, เทคนิควิธีการวิเคราะห์ต้นทุน, วิทยากรที่มีประสบการณ์

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

หลักสูตร เจาะลึก...ขั้นตอนการยื่นกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อรับรองหลักสูตรฝึกอบรมแ...

ขอเชิญ อบรม หลักสูตร ขั้นตอนการยื่นกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน เพื่อรับรองหลักสูตรและค่าใช้จ่าย #เน้นเนื้อหาที่สอดคล้องกับกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน พร้อมทั้งเพื่อให้ผู้ที่รับผิดชอบในการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กร เรียนรู้ขั้นตอน

เทคนิคการเช็คสต็อกอย่างมีประสิทธิภาพ ( Efficient Stock & Inventory Control Tech...

การควบคุมสินค้าคงคลัง เป็นสิ่งที่จำเป็นและสำคัญมาก โดยใช้สำหรับแสดงปริมาณและชนิดของสินค้าคงคลังว่ามีมากน้อยเพียงใดในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง และเพื่อสามารถติดตาม ควบคุมได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยให้มีประมาณสินค้าคงคลังไม่มากจนกลายเป็นต้นทุนที่จมอยู่ในคลังสินค้าแล