กระบวนการ “นำเข้า-ส่งออก” Sales

รหัสหลักสูตร: 44509

จำนวนคนดู 1292 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
เนื่องจากขั้นตอนการนำเข้าสินค้ามีขั้นตอนที่ยุ่งยาก และมีปัญหาทางด้านต้นทุนผู้ประกอบธุรกิจนำเข้าสินค้าจะต้องทำความเข้าใจและศึกษาข้อปฏิบัติให้ถูกต้อง เพื่อให้การประกอบธุรกิจนำเข้าสินค้าเป็นไปอย่างสะดวกและได้รับผลสำเร็จคุ้มค่ากับความตั้งใจการลงทุน
หัวข้ออบรมสัมมนา
(บรรยายโดย อ.วัชระ ปิยะพงษ์)

  1. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการนำเข้า-ส่งออก

  2. เงื่อนไขการส่งมอบสินค้า (Incoterms 2010)

  - EXW - FCA - FAS – FOB - CFR - CIF - CPT - CIP - DAT - DAP- DDP

  3. เครื่องมือที่ใช้ในการชำระค่าสินค้า หลักการและวิธีการของ

  - การชำระเงินด้วยเล็ตเตอร์ออฟเครดิต (Letter of Credit) - ตั๋วเรียกเก็บผ่านธนาคาร (Bill for Collection)

  - การฝากขาย (Consignment) - ผู้ขายเปิดบัญชีขายเชื่อให้กับผู้ซื้อ (Open Account)

  - การชำระเงินล่วงหน้าหรือการชำระด้วยเงินสด (Cash in Advanced)

  4. ขั้นตอนในการส่งสินค้า และการจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้องทางการค้าระหว่างประเทศ

  - เอกสารทางการเงิน (Financial Document)

  - เอกสารทางการขนส่ง (Transport Document)

  - เอกสารทางการค้า (Commercial Document)

  5. เทคนิคเบื้องต้น ในการป้องกันความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ด้วยForword Contract, Spot Contract, ฯลฯ

  6. แนวทางในการเลือกประกันภัยเพื่อคุ้มครองสินค้าที่จัดซื้อจากต่างประเทศ

  7. แนวทางในการเลือกวิธีการขนส่งสินค้าที่สั่งซื้อจากต่างประเทศที่คุ้มค่าปลอดภัย ทันเวลา และเหมาะสมกับสินค้า


28 กันยายน 2560
ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
คำค้นประกาศนี้ Tags: อบรมสัมนา, อบรม, สัมนา, อบรมบุคลากร, บริษัทจัดฝึกอบรม, การตลาด

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

เทคนิคการเช็คสต็อกอย่างมีประสิทธิภาพ ( Efficient Stock & Inventory Control Tech...

การควบคุมสินค้าคงคลัง เป็นสิ่งที่จำเป็นและสำคัญมาก โดยใช้สำหรับแสดงปริมาณและชนิดของสินค้าคงคลังว่ามีมากน้อยเพียงใดในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง และเพื่อสามารถติดตาม ควบคุมได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยให้มีประมาณสินค้าคงคลังไม่มากจนกลายเป็นต้นทุนที่จมอยู่ในคลังสินค้าแล