กฎหมายภาษีศุลกากร และข้อตกลงการค้าระหว่างประเทศ Sales

รหัสหลักสูตร: 45867

จำนวนคนดู 883 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
การนำเข้าสินค้าในปัจจุบันมีการขยายตัวเติบโตมากขึ้นตามความเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศและการตกลงทางการค้าว่าด้วยเขตการค้าเสรี (FTA) โดยมีหลักการที่พยายามลดอุปสรรคทางการค้าลง โดยเฉพาะการลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีระหว่างคู่สัญญา เนื่องจากขั้นตอนการนำเข้าสินค้ามีขั้นตอนที่ยุ่งยาก และมีปัญหาทางด้านต้นทุนผู้ประกอบธุรกิจนำเข้าสินค้าจะต้องทำความเข้าใจและศึกษาข้อปฏิบัติให้ถูกต้อง เพื่อให้การประกอบธุรกิจนำเข้าสินค้าเป็นไปอย่างสะดวกและได้รับผลสำเร็จคุ้มค่ากับความตั้งใจการลงทุน
หัวข้ออบรมสัมมนา

(บรรยายโดย อ.วิชัย มากวัฒนสุข)

  1. ภาษีศุลกากร ภาษีมูลค่าเพิ่ม และภาษีอื่นๆ ในการนำเข้า-ส่งออก 
  2. การประเมินราคาศุลกากร ค่าขนส่ง ค่าประกันภัย ค่าสิทธิ (Royalty Fee) 
  3. พิกัดอัตราศุลกากร การลดอัตราอากร ยกเว้นอากร การใช้สิทธิพิเศษทางภาษีอากรกรณี FTA 
  4. พิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการนำเข้า (e-Import) 
  5. พิธีการศุลกากรทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับการส่งออก (e-Export) 
  6. การสงวนสิทธิ์วางประกันโต้แย้ง และการอุทธรณ์การประเมินอากร 
  7. ข้อควรระวังและแนวทางในการแก้ไขข้อผิดพลาดการเสียภาษีอากร

วันที่อบรม 02 พฤศจิกายน 2560 
ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

หลักสูตร การวางแผนและควบคุมการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ ( Production Planning and C...

เพื่อสามารถจัดระเบียบการไหลของงานในระบบผลิต และติดตามการทำงานนั้นว่าเป็นไปตามแผนที่ได้วางไว้หรือไม่ เพื่อที่จะได้สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้ทันเวลา หรือเป็นการเตรียมและจัดการทรัพยากรและความต้องการตลอดจนทางเลือกต่างๆให้เกิดความพร้อมสำหรับการผลิต

หลักสูตร เทคนิคการสั่งซื้อวัตถุดิบเพื่อการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ ( Material Requ...

MRP (Material Requirements Planning) คือ แผนหรือตารางความต้องการวัตถุดิบ (Items) ในแต่ละวันของการผลิต และตามสูตรการผลิต (Bill of Material: BOM) ของสินค้าหนึ่ง ๆ ดังนั้น MRP จึงขึ้นอยู่กับความต้องการวัตถุดิบจากสูตรการผลิตและตามปริมาณที่ลูกค้าต้องการ