เรียนเชิญสัมมนาหลักสูตร เจาะประเด็น พรบ.คุ้มครองแรงงานฉบับใหม่ ปี 60 เพื่อความพร้อมขององค์กร 21 November 2017

รหัสหลักสูตร: 46745

จำนวนคนดู 825 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
 ประเด็นที่น่าสนใจ

• การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวอย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้กฎหมายแรงงานไทย

• การ Outsource กฎหมายยุค คสช.ออกมาจะมีปัญหาการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวภายใต้กฎหมายแรงงานไทยเพียงใด

• บทลงโทษ ทั้งนายจ้างและลูกจ้าง กรณี ฝ่าฝืนและปฏิบัติไม่ถูกต้องตาม กฎหมายไทยทั้งทางแพ่งและอาญา



สำรองที่นั่ง  ติดต่อคุณจิ๋ว

Tel. 090 645 0992, 089 606 0444

Line : hrdzenter

www.hrdzenter.com

E-mail.com : [email protected]

หัวข้ออบรมสัมมนา
1. การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวอย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้กฎหมายแรงงานไทย

2. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ พระราชบัญญัติว่าด้วยการ ทำงานของคนต่างด้าวทั่วไปและ CLMV

(กัมพูชา-ลาว-พม่า-เวียตนาม)

• ข้อควรปฏิบัติของนายจ้างในการจ้างคนต่างด้าว การจ้างแรงงานต่างด้าว อย่างถูกกฎหมายต้อง ทำอย่างไร?

• หลักเกณฑ์ และขั้นตอน หน้าที่ของนายจ้างในการขอ อนุญาตจ้างแรงงานต่างด้าว หรือการขอ Work Permit

• ขั้นตอนการนำเข้าแรงงานต่างด้าว CLMV ที่ถูกต้อง ตามกฎหมาย

• กรณีคนต่างด้าว หมดวาระ หรือลาออกจากบริษัท คน ต่างด้าวหรือนายจ้างจะต้องดำเนินการอย่างไรบ้าง? การแจ้งยกเลิกการจ้างแรงงานต่างด้าวที่ถูกต้อง

• แรงงานต่างด้าวที่ไม่มีเอกสารหลักฐานใดๆ นายจ้าง สามารถรับเข้าทำงานได้หรือไม่ได้

• Outsource ต่างด้าว กฎหมายใหม่ยุค คสช.เป็นอย่างไร ทำได้เพียงใด ปัญหาและผลกระทบ

• ทางออกในการ Outsource ต่างด้าว

3.กฎหมายแรงงานไทยสําหรับนายจ้างที่มีลูกจ้างที่เป็น ต่างด้าวต้องปฏิบัติอย่างไรบ้าง หากฝ่าฝืนมีโทษทั้งทาง แพ่งและทางอาญาอย่างไร

4.นายจ้างรับคนต่างด้าวมาทำงานแต่ฝ่าฝืนพระราช กฤษฎีกากำหนดงานในอาชีพและวิชาชีพที่ห้ามคน ต่างด้าวทำ พ.ศ. 2522 และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2536 ทั้ง ที่มี Work Permit แล้ว มีผลตามกฎหมายต่อหรือไม่

5.สิทธิของแรงงานต่างด้าวและหน้าที่นายจ้างที่ประกอบกิจการในประเทศไทยตามกฎหมายว่าด้วยแรงงาน

• จ้างงานต่างด้าวต่างเพศจะกำหนดอัตราค่าจ้าง ค่าตอบแทน สภาพการจ้างที่ให้ไม่เหมือนกันได้หรือไม่

• ต้องจัดวันหยุดตามประเพณี วันหยุดประจำสัปดาห์ วัน หยุดพักผ่อนประจำปีให้หรือไม่ ถ้าต้องจัดให้ จัดให้ต่าง จากแรงงานไทยได้หรือไม่

• นายจ้างสามารถกำหนดสวัสดิการให้แรงงานต่างด้าวได้ รับต่างไปจากแรงงานไทยได้หรือไม่ ถ้าเป็นการให้นอก กฎหมายกำหนด แม้จะเป็นการเลือกปฏิบัติก็ทำได้จริง หรือไม่

• การทำสัญญาจ้างแรงงานลูกจ้างต่างด้าวมีรูปแบบ อย่างไร สามารถจ้างแบบไหนได้บ้าง และต้องมีภาษาต่างด้าวนั้นๆ กำกับใน สัญญาด้วยหรือไม่

ลูกจ้างต่างด้าวเป็นสมาชิกสหภาพแรงงานได้ แต่เป็น กรรมการสหภาพฯ ไม่ได้ เมื่อสหภาพแรงงานทำข้อ ตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างไว้แล้ว ลูกจ้างต่างด้าวจะ ได้สิทธิประโยชน์และสวัสดิการตามข้อตกลงเกี่ยวกับ สภาพการจ้างนั้นด้วยหรือไม่

• สิทธิการลาหยุดงานอะไรบ้างที่ลูกจ้างต่างด้าวได้รับ

• Work Permit มีอายุ 2 ปี พอหมดอายุ แต่ได้กลับมาทำงานต่อกับนายจ้างเดิมอีก อายุงานจะนับต่อเนื่องหรือไม่ ถ้าไม่อยากให้นับอายุงานต่อเนื่องทำได้อย่างไรเพื่อที่นายจ้างไม่ต้องไปจ่ายค่าชดเชยให้ตามอายุงาน

• หากลูกจ้างต่างด้าวไม่ได้รับอนุญาตให้ต่อวีซ่าเมื่อครบ1 ปี สัญญาจ้างจะถือว่าสิ้นสุดเลยหรือไม่ หรือจะถือเป็นการพ้นสภาพการเป็นลูกจ้างอย่างไรกันแน่

• ลูกจ้างต่างด้าวมีสิทธิได้รับสินจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้า จากนายจ้างหรือไม่ กรณีใดบ้าง

• ลูกจ้างต่างด้าวทำงานทุกกรณีต่อสัปดาห์ รวมกันห้ามเกิน 84 ชั่วโมงต่อคน จริงหรือ

6. การเลิกจ้าง การใช้วินัยและการลงโทษแรงงานต่างด้าวตามกฎหมายว่าด้วยแรงงาน

• ลูกจ้างต่างด้าวนายจ้างไทยมีสิทธิเลิกจ้างและลงโทษกรณีใดบ้าง นายจ้างจะฝ่าฝืน MOU ระหว่างรัฐบาลไทยกับรัฐบาลของ CLMV หรือไม่

• หากนายจ้างจะบอกกล่าวเลิกสัญญาจ้างต่อลูกจ้างต่างด้าวมีวิธีการอย่างไรและสามารถบอกเลิกสัญญาจ้างก่อน Work Permit หมดอายุได้หรือไม่

• ทดลองงานลูกจ้างต่างด้าวแล้วประเมินผลการปฏิบัติงานช่วงทดลองงานไม่ผ่าน นายจ้างต้องทำอย่างไร

• ลูกจ้างต่างด้าวทำผิดวินัยร้ายแรงถึงขั้นเลิกจ้างไม่จ่ายค่าบอกกล่าวล่วงหน้าและค่าชดเชย ได้แก่กรณีใดบ้าง

• การพ้นสภาพการเป็นลูกจ้างของแรงงานต่างด้าวมีวิธีใดบ้าง เหมือนลูกจ้างคนไทยหรือไม่ อย่างไร

• ลูกจ้างต่างด้าวไม่ได้รับความเป็นธรรมหรืออยากฟ้องนายจ้างจะฟ้องที่ศาลแรงงานได้หรือไม่ อย่างไร

• กฎหมายว่าด้วยการขัดกันที่ห้ามฟ้องศาลแรงงานในประเทศไทยจนกว่าจะดำเนินการตามกฎหมายระหว่างประเทศก่อนเป็นอย่างไร จึงจะกลับมาฟ้องต่อกัน ณ ศาลแรงงานในประเทศไทยได้

• หักค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุดเพื่อเป็นการลงโทษลูกจ้างต่างด้าวได้หรือไม่ ทั้งที่กฎหมายคุ้มครองแรงงานห้ามหักไว้


21 November 2017
ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
คำค้นประกาศนี้ Tags: กฎหมาย, เจาะประเด็น พรบ.คุ้มครองแรงงานฉบับใหม่ ปี 60, อาจารย์กฤษฎ์ อุทัยรัตน์, hrdzenter, กฎหมายแรงงาน, law

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด