Contractual for Business การบริหาร "สัญญาเชิงธุรกิจ" : วางแผนการทำสัญญาธุรกิจโดยใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษี

รหัสหลักสูตร: 49058

จำนวนคนดู 607 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
การทำธุรกิจ หรือใช้ชีวิตทุกวันนี้ล้วนเกี่ยวข้องกับ “สัญญา” ทั้งสิ้น ทันทีที่ตกลงใจเข้าเป็นคู่สัญญา ภาระทางภาษีอากรเกิดขึ้นกับท่านอย่างไม่รู้ตัว ท่านจะปฏิเสธว่าไม่รู้ – ไม่ทราบไม่ได้ เพราะกฎหมายกำหนดหน้าที่ให้ท่านต้องชำระค่าภาษีอากร อีกทั้งยังต้องเตรียมรับมือกับปัญหาเฉพาะหน้าในขณะเจรจาทำสัญญาตามข้อตกลงต่างๆ ท่านจะวางแผนอย่างไร? เพื่อไม่ให้เป็นปัญหาบานปลายในอนาคต

    

การดำเนินธุรกิจไม่ว่าประเทศใด ย่อมต้องอยู่ภายใต้กฎหมายที่กำหนดไว้แต่ละกรณี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ”กฎหมายเอกชน”(Private Law) ที่ต้องอาศัย การตีความ เพื่อคุ้มครองคู่สัญญาให้สามารถดำเนินการต่อไปได้ ถ้าข้อตกลงเหล่านั้นไม่เป็นการขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ทั้งนี้กลยุทธ์ในการเลือกทำสัญญาย่อมช่วยประหยัดภาษีอากรได้บางประเภท “Contractual for Tax planning” ด้วยเหตุนี้ ก่อนที่จะลงมือดำเนินการในเรื่องใด ผู้ที่เกี่ยวข้องควรนึกถึงการวางแผนด้านสัญญา (Contract) เสียก่อน เป็นเบื้องต้น หลังจากนั้น ระบบบัญชี (Accounting) ความรับผิดทางด้านภาษี (Taxation) และการปฏิบัติการด้านงานบุคคล (Human Resource) ก็จะเป็นผลติดตามมาที่เรียกว่า สัญญา บัญชี ภาษี

หัวข้ออบรมสัมมนา
หัวข้อการบรรยาย

   - ข้อพิจารณา 10 ประเด็นในการทำ “สัญญาเชิงธุรกิจ” (Business Contract)

   - การพิจารณาตรวจสอบ “ร่างสัญญา” 10 ประเด็นพร้อมข้อเสนอแนะต่างๆ ในการเจรจา

   - ประเภทและลักษณะของสัญญาทางธุรกิจและจุดที่ต้องระวัง !

   - ข้อพิจารณาก่อนทำสัญญาทางธุรกิจ

   - ผู้ทำสัญญาที่ได้รับมอบอำนาจต้องระวังเรื่องใด ?

   - ควรทำสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ ?

   - ต้นฉบับ คู่ฉบับ และสำเนาเอกสารควรมีกี่ชุด

   - การตรวจสอบสถานะของคู่สัญญาจากหน่วยงานทางราชการ

   - การตรวจสอบเอกสารประกอบที่ถือเป็นส่วนหนึ่งการทำสัญญาทางธุรกิจ

   - การติดอากรแสตมป์และผลของการละเลยไม่ติดอากรแสตมป์

   - หลักเกณฑ์ในการร่างสัญญาทางธุรกิจ เพื่อให้มีผลตามกฎหมายและใช้บังคับได้

   - หลักเกณฑ์ในการตรวจร่างสัญญาทางธุรกิจของฝ่ายตรงข้าม

   - ข้อพิจารณาในการทำสัญญากับประเภทเงินได้พึงประเมิน

   - สัญญาแบบ TURN-KEY เป็นอย่างไร ? และข้อควรระวังจุดใด ?

   - ความแตกต่างของสัญญาแต่ละประเภท

   - สัญญารับจ้าง กับ สัญญาลิขสิทธิ์

   - สัญญาซื้อขาย กับ สัญญาให้ใช้สิทธิบัตร

   - สัญญาจ้างแรงงาน กับ สัญญารับจ้าง

   - สัญญารับจ้าง กับ สัญญาเช่า

   - สัญญาเช่ารถยนต์ (พร้อมคนขับ) กับสัญญารับขน (คนโดยสาร)

   - สัญญาเช่าซื้อ กับ สัญญาเช่า กับ สัญญาลีสซิ่ง

   - สัญญารับจ้าง กับ สัญญาบริการทางวิชาชีพอิสระ

   - สัญญารับจ้าง กับ สัญญาขนส่ง

   - สัญญารับเหมา ที่ผู้รับเหมาต้องรับภาระด้วยการจัดหาในส่วนสำคัญ นอกจากเครื่องมือ กับ สัญญาซื้อขาย

   - ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่าง “สัญญา” “ระบบบัญชี” และ “ภาษีอากร”

   - เทคนิค การตรวจสัญญาการลงบัญชีกับ การทำสัญญาแต่ละประเภท

   - ภาระภาษีอากรจากการทำสัญญาแต่ละประเภท

   - ข้อควรรู้ 10 ประการกับการฟ้องร้องให้ชำระ “หนี้”

ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

หลักสูตร การตรวจประเมินผู้ขายอย่างมืออาชีพ (Supplier Audit as Professional)

การตรวจประเมินผู้ขายนั้น เป็นหน้าที่หนึ่งของหน่วยงานจัดซื้อ/จัดหา ที่สำคัญมากๆ และ การตรวจประเมินผู้ขาย อยู่ภายใต้กระบวนการคัดเลือกผู้ขาย ซึ่งจะได้เรียนรู้ คุณสมบัตการแต่งตั้งทีมในการคัดเลือกผู้ขาย, กระบวนการตรวจประเมิน, เทคนิคในการเป็นผู้ตรวจประเมิน