หลักสูตร Microsoft Access Intermediate

รหัสหลักสูตร: 50105

จำนวนคนดู 1196 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
คุณจะได้เรียนรู้การใช้งาน Access ในขั้นกลาง เพื่อที่จะเพิ่มประสิทธิภาพของการใช้งาน Access ให้สามารถทำงานได้ลึกกว่าการใช้งานแบบทั่วไป โดยเรียนรู้เทคนิคของการใช้งานในส่วนต่างๆ ของ Access ซึ่งหลักจากจบหลักสูตรนี้แล้ว คุณจะมีความเข้าใจในการใช้งาน Access อย่างดีทีเดียว
หัวข้ออบรมสัมมนา
การออกแบบ Database และ Relationship

  • การ Backup Database และการนำไฟล์ที่ได้ Backup ไว้กลับมาใช้งาน 
  • เทคนิคการออกแบบดาต้าเบสให้มีความปลอดภัยของข้อมูล โดยแยก Table ออกมาจาก Query, Form, Report, Macro, Module ทั้งนี้เพื่อลดขนาดของ Database และสร้างความปลอดภัยให้กับข้อมูล หากไฟล์เกิดเสียหายข้อมูลก็จะไม่เสียหายไปพร้อมกัน 
  • เทคนิคการลดขนาดของ Database ให้เล็กลง ซึ่งเมื่อใช้งาน Access ไปสักระยะขนาดของไฟล์จะโตขึ้นเรื่อยๆ ทำให้ทำงานช้าลง 
  • เทคนิคการซ่อมแซม Database ที่เกิดความเสียหายขึ้นมา เช่น เมื่อเครื่องเกิด Hang และเปิดไฟล์ Access ใช้งาน จะมีผลทำให้ไฟล์ Access เสียแล้วเปิดใช้งานไม่ได้ 
  • การออกแบบ Relationship ระหว่าง Table แบบ One to Many 
  • การกำหนดความถูกต้องของข้อมูลใน Table ที่สร้าง Relationship ไว้ เช่น การป้องกันไม่ให้เกิดขยะข้อมูลในฝั่ง Many และการ Update ข้อมูลในฝั่ง One แล้วฝั่ง Many จะต้องตามไปแก้ให้ด้วยโดยอัตโนมัติ 
  • ปัญหาที่มักพบของการสร้าง Relationship แบบ One to Many ไม่ได้ และวิธีการแก้ไข 
  • การ Join Table ในลักษณะต่างๆ เช่น การหา Join Table แล้วหาค่าของ Record ที่มีตรงกันของ Table เช่น ลูกค้าที่ซื้อสินค้าว่ามีใครบ้าง และการ Join แบบหาค่าที่ไม่มีในอีก Table เช่น การหาว่าลูกค้ารายใดไม่เคยซื้อสินค้าบ้าง ฯลฯ 
  • การ Import Table, Query, Form, Report, Macro, Module หรือ Relationship จากก Access ไฟล์อื่นเข้ามาใช้งาน 

การใช้งาน Table ขั้นสูง

  • การสร้างกำหนดรูปแบบแสดงผลของ Field ที่เป็นตัวอักษรให้แสดงเป็นรูปแบบอื่นๆ ตามต้องการ เช่น การกำหนดให้ข้อมูลแสดงเป็นตัวอักษรใหญ่ทั้งหมด ทั้งๆ ที่ป้อนข้อมูลเข้ามาเป็นตัวเล็ก หรือใหญ่ปนเล็ก 
  • การสร้างกำหนดรูปแบบแสดงผลของ Field ที่เป็นตัวเลขให้แสดงเป็นรูปแบบอื่นๆ ตามต้องการ เช่น หากป้อนข้อมูลโทรศัพท์เป็นตัวเลข 023803421 ต้องการให้แสดงผลเป็น (02) 380-3421 หรือหมายเลขบัญชี 1017127010 ให้แสดงเป็น 101-712701-2 
  • การสร้างกำหนดรูปแบบแสดงผลของ Field ที่เป็น Yes/No ให้เป็นรูปแบบอื่นๆ ตามต้องการ เช่น หากมี Field ชื่อ Full Time เป็นแบบ Yes/No ไว้ และเก็บข้อมูลว่า Yes คือ พนักงาน Full Time และ No คือ Temporary แต่เวลาแสดงใน Form หรือ Report ให้แสดงค่าจาก Yes เป็น Full Time (สีน้ำเงิน) และ No เป็น Temporary (สีแดง) 
  • การสร้างรูปแบบการป้อนข้อมูลให้ง่าย เช่น เบอร์โทรศัพท์ ให้แสดงเป็นรูปแบบ ___-______ ฯลฯ 
  • การสร้างกฏเพื่อตรวจสอบการป้อนค่าว่าถูกต้องตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้หรือไม่ เช่น การป้อนอายุ หากป้อนต่ำกว่า 20 ปี จะไม่ให้รับค่านี้และแสดงข้อความเตือนว่าป้อนผิดเงื่อนไข เป็นการป้องกันไม่ให้เกิดการรับข้อมูลผิดเข้าไปในระบบ 
  • การกำหนดเก็บข้อมูลที่ป้อนเข้าไปให้เก็บเฉพาะข้อมูลอย่างเดียว หรือทั้ง Format เข้าไปด้วยหรือไม่ เช่น หากกำหนดให้เบอร์โทรศัพท์จะต้องป้อน (xx) xxx-xxxx สามารถกำหนดได้ว่า จะให้เก็บเฉพาะหมายเลขอย่างเดียว หรือทั้งวงเล็บเข้าไปด้วยหรือไม่ก็ได้ 

เทคนิคการสร้าง Drop List

  • เทคนิคการสร้าง Field ให้แสดงเป็นแบบ Drop List โดยไม่จำเป็นต้องสร้างเป็น Table หรือ Query เพื่อมาใช้ในการแสดง Drop List 
  • เทคนิคการสร้าง Drop List ในลักษณะใช้ค้นหา Record ใน Form 

การสร้างสูตรและฟังก์ชั่นใน Query, Form หรือ Report

  • การเขียนสูตรใน Form เพื่อคำนวณหาต่างๆ เช่น การหาผลรวมของยอดเงินทั้งหมด ฯลฯ 

การสร้าง Main Form/SubForm

  • การสร้าง Main Form/SubForm เพื่อแสดงข้อมูลให้สัมพันธ์กัน เช่น แสดงข้อมูลของลูกค้าแต่ละรายว่าซื้อสินค้าอะไรไปบ้าง ฯลฯ 
  • การสร้าง Main Form/Subform หลายระดับ 
  • การสร้างสูตรหายอดรวมของ SubForm 

เจาะลึกการใช้งาน Query ต่างๆ ของ Access

  • การสร้าง Query ค้นหาค่าของตัวเลข หรือช่วงของตัวเลข 
  • การสร้าง Query ให้แสดงบางส่วนของตัวอักษร เช่น ชื่อลูกค้าที่ขึ้นต้นด้วย A หรือ รหัสสินค้าที่มีคำว่า SXL อยู่ภายใน 
  • การสร้าง Query ค้นหาข้อมูลที่เป็นค่าว่าง หรือไม่ได้ป้อนข้อมูล เหมาะสำหรับใช้ในการตรวจหาข้อมูลที่ไม่ได้ป้อน 
  • การสร้าง Query ไม่ให้แสดงบางค่าที่ต้องการยกเว้น 
  • การสร้าง Query ค้นหาข้อมูลประเภทวันที่ ซึ่งเป็นสิ่งที่หลายคนสับสบและใ้ช้งานไม่ถูก 
  • การสร้างสูตรหรือ Expression ใน Query เช่น การเขียนสูตร IF ใน Query การเขียนสูตรเพื่อคำนวณค่าต่างๆ ของ Field 
  • การสร้าง Query ให้สรุปข้อมูลที่เหมือนกันให้เป็นข้อมูลเพียงรายการเดียว เช่น สรุปยอดการขายของลูกค้าแต่ละรายว่าขายได้เท่าใด 
  • การสร้าง Make Table Query เพื่อให้ผลลัพธ์ถูก Save ออกมาเป็น Table ใหม่ เหมาะสำหรับใช้ย้ายข้อมูลเก่าไปไว้ในอีกไฟล์หนึ่ง 
  • การสร้าง Update Query เพื่อใช้ในการ Update ข้อมูลแบบอัตโนมัติ เช่น การปรับราคาสินค้าใหม่ หรือการแก้ไขข้อมูลที่เป็นจำนวนมากๆ ใน Field ต่างๆ ของ Table 
  • การสร้าง Append Query เพื่อใช้ในการเอาข้อมูลจาก 2 Table มารวมกันเป็น Table เดียว 
  • การสร้าง Cross tab Query เพื่อสร้างรายงานแบบตารางไขว้ระหว่าง Row และ Column เช่น ลูกค้าแต่ละราย (Row) ซื้อสินค้าในแต่ละเดือน (Column) เป็นเท่าใด 
  • การสร้าง Delete Query เพื่อใช้ลบข้อมูลที่ไม่ต้องการ เช่น การลบข้อมูลของสินค้าที่เลิกขายไปแล้ว หรือลบข้อมูลเก่าออกจาก Table ฯลฯ โดยไม่ต้องมาลบทีละ Record ให้เสียเวลา 
  • การสร้าง Join Query เพื่อรวมข้อมูลจาก 2 Table ให้เป็น Table เดียว ซึ่งจะเหมาะในการแก้ปัญหาบางอย่าง เช่น หากคุณมีข้อมูลอยู่ใน Excel หลายๆ ชีต ซึ่งแต่ละชีตมีข้อมูล 50,000 บรรทัด และต้องการที่จะรวมข้อมูลหลายๆ ชีตนั้นให้เป็น Table เดียวกัน การรวมใน Excel จะมีข้อจำกัดที่จำนวนบรรทัดได้สูงสุดประมาณ 65,000 บรรทัดต่อชีตเท่านั้น 
  • การสร้าง Parameter Query เพื่อรับค่า Input จากผู้ใช้ ทำให้การ Run Query เป็นแบบ Dynamic ทำให้ไม่ต้องมาแก้เงื่อนไขทุกครั้งการสร้าง Query ค้นหาค่าของตัวเลข หรือช่วงของตัวเลข 
  • การสร้าง Query ให้แสดงบางส่วนของตัวอักษร เช่น ชื่อลูกค้าที่ขึ้นต้นด้วย A หรือ รหัสสินค้าที่มีคำว่า SXL อยู่ภายใน 
  • การสร้าง Query ค้นหาข้อมูลที่เป็นค่าว่าง หรือไม่ได้ป้อนข้อมูล เหมาะสำหรับใช้ในการตรวจหาข้อมูลที่ไม่ได้ป้อน 
  • การสร้าง Query ไม่ให้แสดงบางค่าที่ต้องการยกเว้น 
  • การสร้าง Query ค้นหาข้อมูลประเภทวันที่ ซึ่งเป็นสิ่งที่หลายคนสับสบและใ้ช้งานไม่ถูก 
  • การสร้างสูตรหรือ Expression ใน Query เช่น การเขียนสูตร IF ใน Query การเขียนสูตรเพื่อคำนวณค่าต่างๆ ของ Field 
  • การสร้าง Query ให้สรุปข้อมูลที่เหมือนกันให้เป็นข้อมูลเพียงรายการเดียว เช่น สรุปยอดการขายของลูกค้าแต่ละรายว่าขายได้เท่าใด 
  • การสร้าง Make Table Query เพื่อให้ผลลัพธ์ถูก Save ออกมาเป็น Table ใหม่ เหมาะสำหรับใช้ย้ายข้อมูลเก่าไปไว้ในอีกไฟล์หนึ่ง 
  • การสร้าง Update Query เพื่อใช้ในการ Update ข้อมูลแบบอัตโนมัติ เช่น การปรับราคาสินค้าใหม่ หรือการแก้ไขข้อมูลที่เป็นจำนวนมากๆ ใน Field ต่างๆ ของ Table 
  • การสร้าง Append Query เพื่อใช้ในการเอาข้อมูลจาก 2 Table มารวมกันเป็น Table เดียว 
  • การสร้าง Cross tab Query เพื่อสร้างรายงานแบบตารางไขว้ระหว่าง Row และ Column เช่น ลูกค้าแต่ละราย (Row) ซื้อสินค้าในแต่ละเดือน (Column) เป็นเท่าใด 
  • การสร้าง Delete Query เพื่อใช้ลบข้อมูลที่ไม่ต้องการ เช่น การลบข้อมูลของสินค้าที่เลิกขายไปแล้ว หรือลบข้อมูลเก่าออกจาก Table ฯลฯ โดยไม่ต้องมาลบทีละ Record ให้เสียเวลา 
  • การสร้าง Join Query เพื่อรวมข้อมูลจาก 2 Table ให้เป็น Table เดียว ซึ่งจะเหมาะในการแก้ปัญหาบางอย่าง เช่น หากคุณมีข้อมูลอยู่ใน Excel หลายๆ ชีต ซึ่งแต่ละชีตมีข้อมูล 50,000 บรรทัด และต้องการที่จะรวมข้อมูลหลายๆ ชีตนั้นให้เป็น Table เดียวกัน การรวมใน Excel จะมีข้อจำกัดที่จำนวนบรรทัดได้สูงสุดประมาณ 65,000 บรรทัดต่อชีตเท่านั้น 
  • การสร้าง Parameter Query เพื่อรับค่า Input จากผู้ใช้ ทำให้การ Run Query เป็นแบบ Dynamic ทำให้ไม่ต้องมาแก้เงื่อนไขทุกครั้ง 
เทคนิคการใช้งาน Query 

  • เทคนิคการสร้าง Query ให้ฝังไว้ใน Control ต่างๆ โดยไม่ต้อง Save เป็นชื่อของ Query ไว้ 
  • เทคนิคการค้นหาชื่อ Query อย่างรวดเร็ว 
  • เทคนิคการป้องกันไม่ให้เกิด Message ถามยืนยัน เมื่อ Run Query ทำให้โปรแกรมทำงานอย่างต่อเนื่องโดยไม่สะดุด 
  • เทคนิคการเขียน Query แบบ OR เป็นจำนวนมากๆ ให้สั้นลง

อบรมวันที่ 24-25 เมษายน 2561
ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
คำค้นประกาศนี้ Tags: Access, Access Advance

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

เจาะลึก การค้นหา/การคัดเลือก/การตรวจประเมิน/การทำข้อตกลงกับผู้ขายแบบครบถ้วน สำหร...

หัวข้อนี้ออกแบบเพื่อตอบโจทย์ความต้องการที่ครบถ้วน สำหรับ งานจัดหา (Procurement) เพราะคลอบคลุม ทุกขั้นตอนตั้งแต่การค้นหา / การคัดเลือก / การตรวจประเมิน ทุกองค์กรต้องการสนับสนุนที่ดีจากหน่วยงานจัดซื้อ แน่นอนหน่วยงานจัดซื้อนั้น มี 2 หน้าที่ ที่ต้องทำให้ได้