ร่วมอบรมหลักสูตร เทคนิคการออกแบบและป้องกันความผิดพลาดการผลิตด้วย Poka-Yoke วันที่ 26 พฤษภาคม 2561 By HRDZENTER โทร 0897737091

รหัสหลักสูตร: 53143

จำนวนคนดู 1812 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
หลักการและเหตุผล

     จากการแข่งขันสูงทางธุรกิจในปัจจุบันบริษัทชั้นนำในประเทศญี่ปุ่นหลายแห่งได้นำเอาปรัชญาการควบคุมคุณภาพของสินค้าแบบของเสีย (Defect) เป็นศูนย์ (Zero Defect) มาใช้ คือความท้าทายในแง่ของการปรับปรุงระบบคุณภาพอย่างต่อเนื่องด้วยความมุ่งมั่นเพื่อมุ่งสู่การผลิตในอัตราของเสียที่เป็นศูนย์ (0) หรือไม่มีของเสียเลยให้จงได้ ซึ่งจะส่งผลดีต่อกำไรที่เพิ่มขึ้นและต้นทุนที่ต่ำลงขององค์กร ทั้งยังยิ่งสร้างความเชื่อมั่นและความน่าเชื่อถือแก่ลูกค้าอีกด้วย

       ดังนั้นการให้ความตระหนักและเข้าใจในศาสตร์ของหลักการควบคุมไม่ให้เกิดความผิดพลาดและป้องกันความผิดพลาดจากการทำงาน (Mistake-Proofing) ที่ต้นเหตุก่อนเกิดของเสียด้วยเครื่องมือและเทคนิคในการดักจับความผิดพลาด (Poka-Yoke) ซึ่งเป็นวิธีการตรวจสอบ ที่เน้นถึงการตรวจสอบ 100% วิธีนี้จะเน้นรวมถึงการที่เมื่อกระบวนการผลิตมีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้น ความผิดปกติจะต้องได้รับการตอบสนองหรือแก้ไขได้อย่างทันท่วงทีจึงถือเป็นกุญแจสำคัญอย่างมากที่สามารถช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพ มีคุณภาพ ถูกต้อง มีความสะดวกและรวดเร็ว มุ่งสู่ความสำเร็จขององค์กรในการบริหารและควบคุมคุณภาพการผลิตทั่วทั้งองค์การ (TQM) อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพสูงสุดต่อไป


วัตถุประสงค์

  • เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความตระหนักและจิตสำนึกเกี่ยวกับปัญหาการเกิดและการควบคุมของเสีย (Defect)
  • เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้และความเข้าใจในหลักการลดของเสียให้เป็นศูนย์ (Zero Defect) ในการปฏิบัติงาน
  • เพื่อให้ผู้เข้าอบรมนำการดักจับความผิดพลาด (Poka-Yoke) ไปใช้ในการปรับปรุงงานได้อย่างเป็นรูปธรรม
  • เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำไปปรับประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์และมีเทคนิคไปปรับปรุงวิธีการทำงาน รวมถึงสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

หัวข้ออบรมสัมมนา


หลักสูตร เทคนิคการออกแบบและป้องกันความผิดพลาดการผลิตด้วย Poka-Yoke

อบรมวันเสาร์ที่ 26 พฤษภาคม 2561 เวลา 09:00 - 16:00 น.

.

ณ Arize Hotel สุขุมวิท 26 ใกล้ BTS สถานีพร้อมพงษ์ **สถานที่อาจมีการเปลี่ยนแปลง

Promotion ++ สมัครเข้าอบรมครบ 3 ท่าน / ลดราคาเหลือเพียงท่านละ 3,300 บาท เท่านั้น

วิทยากร อาจารย์พิทักษ์พงษ์  จัตุชัย



หัวข้อการอบรม

1. ปัญหาด้านคุณภาพและการตรวจสอบคุณภาพในกระบวนการผลิตอะไรคือ?

2. อะไรคือ ของเสีย (Defect) Vs. ความผิดพลาด (Mistake-Error) และมีปัจจัยเกิดขึ้นได้อย่างไร?

3. แนวคิดการควบคุมคุณภาพแบบความผิดพลาดเป็นศูนย์ (ZQC) คืออะไร ?

4. แนวคิดและหลักการที่เกี่ยวกับการปรับปรุงงาน (Improvement) และการควบคุมสภาวะต่างๆ ในงานผลิต

  • การวางแผนปรับปรุงงานด้วย PDCA และหลักการปรับปรุงงานเบื้องต้นด้วย ECRS
  • ระบบการมองเห็น (Visual System)

5. หลัก 8 ประการเบื้องต้น (8D) สู่การป้องกันความผิดพลาดเป็นศูนย์เพื่อให้ของเสียเป็นศูนย์ (Zero Defect)

6. กระบวนการตรวจสอบและดักจับความผิดพลาดที่ต้นเหตุ (Source inspection) ก่อนเกิดของเสีย

7. หลักการควบคุมไม่ให้เกิดความผิดพลาดและป้องกันความผิดพลาดจากการทำงาน (Mistake-Proofing)

8. แนวคิดและหลักการเกี่ยวกับระบบการดักจับความผิดพลาด (Poka-Yoke)

  • ระบบ Poka-Yoke ช่วยควบคุมกระบวนการได้อย่างไร ?
  • หลักการและวิธีการออกแบบ Poka-Yoke
  • ชนิดและประเภทของ Poka-Yoke
  • เทคนิคการเลือกใช้งาน อุปกรณ์แบบต่างๆ ที่นำมาใช้ทำ Poka-Yoke

9. กรณีศึกษาที่ประสบความสำเร็จ (Best Practice)

10. สรุปการเรียนรู้และถามตอบ


สำรองที่นั่ง ติดต่อเพิ่มเติมได้ที่

คุณพลอย 089 773 7091 

www.hrdzenter.com ,E-mail : [email protected] 

www.facebook.com/hrdzenter


อบรมวันเสาร์ที่ 26 พฤษภาคม 2561 เวลา 09:00 - 16:00 น.
ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
คำค้นประกาศนี้ Tags: poka yoke , hrdzenter, การป้องกันความผิดพลาดในกระบวนการผลิต, ระบบ poka yoke, hrdzenter, วิธีการออกแบบ poka yoke ,hrdzenter, อบรม,สัมมนา,poka yoke,hrdzenter, อบรม,สัมมนา,ระบบpoka yoke,hrdzenter

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

หลักสูตร : การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ ( Project Feasibility Analysis ) ...

ขอเชิญอบรม หลักสูตร : การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ ( Project Feasibility Analysis ) #โครงการนั้นมีความเหมาะสม มีความคุ้มค่าและมีความเป็นไปได้ที่จะมีโครงการนั้นอยู่หรือไม่ดังนั้นก่อนที่จะเริ่มโครงการใดๆ ก็ตาม เราควรจะต้องวิเคราะห์ความเป็นไปได้