อบรม 5 Strategic Thinking Enhancement

รหัสหลักสูตร: 10393

จำนวนคนดู 1137 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd

5 รูปแบบการคิดเชิงกลยุทธ์

1)  Paradigm Shift

การเปลี่ยนแปลงเรื่องต่างๆ ในการทำงานหรือในเชิงธุรกิจย่อมมีอยู่เสมอทั้งที่เปลี่ยนเพื่อแก้ปัญหา หรือเปลี่ยนเพื่อการพัฒนาที่ดี   หากแต่ส่วนใหญ่มิใช่การเปลี่ยนแปลงในเชิงกลยุทธ์การปรับเปลี่ยนในเชิงกลยุทธ์ที่แท้จริงต้องเริ่มที่ เปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ในการคิดเชิงกลยุทธ์(Paradigm Shift)มิใช่เป็นเพียงการเปลี่ยนแปลงเฉพาะวิธีการ เช่นการเปลี่ยนเทคนิคการตลาด แต่จะหมายถึงการเปลี่ยนแปลงวิถีการตลาดของบริษัทเป็นต้น ซึ่งใน การเปลี่ยน Paradigm Shift นี้ เราจะต้องเรียนรู้ถึงการปรับดังนี้

- Vision Shift

- Direction Shift

- Management Shift

- Corporate Culture Shift

2)  VISION

คงแทบไม่มีผู้บริหารท่านใด  ไม่เคยได้ยิน   รูปแบบการคิดเชิงกลยุทธ์ที่เรียกว่า “Vision (วิสัยทัศน์)”  เนื่องเพราะ  วิสัยทัศน์เป็นจุดเริ่มต้นของการวางแผนเชิงกลยุทธ์ทั้งหมดการสร้างองค์ความคิด   Visionary Thinkingให้ได้ดีนั้น ไม่ใช่เรื่องง่ายการพัฒนาวิสัยทัศน์ จะทำอย่างไรเพื่อสร้างวิสัยทัศน์ที่ดี ทั้งในเชิงธุรกิจหรือการทำงานอื่น ๆ ซึ่งเราจะได้เรียนรู้ถึง

- วิธีการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่ผลต่อองค์กร

- ผู้นำกับการสร้างวิสัยทัศน์

- วิสัยทัศน์กับแผนเชิงกลยุทธ์

- วิสัยทัศน์กับการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ และการพัฒนาความคิดเชิงกลยุทธ์

3)  Scenario Planning

ภายใต้ภาวะความผันผวนของสภาพแวดล้อมปัจจุบัน  การบริหารแผนงานต่างๆ  จึงต้องเน้นการมองถึงอนาคตอยู่ตลอดเวลา   (Future Thinking)และในเชิงการคิดเชิงกลยุทธ์นั้น  ในการสร้างแผนทางเลือกต่างๆสำหรับอนาคต( Scenario Planning )  จึงเป็นรูปแบบแนวคิดเชิงกลยุทธ์อีกแบบหนึ่ง ที่หลายๆ องค์กรชั้นนำได้หยิบเครื่องมือนี้มาใช้ประยุกต์ต่อการสร้างแผนเพื่อตอบสนองกับการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันนั่นเองซึ่งเราจะได้เรียนรู้ถึง

- การคิดเชิงกลยุทธ์ในการมองอนาคต

-  การสร้างทางเลือกเชิงกลยุทธ์จากวิธี Scenario

- เทคนิคการสร้างแผนกลยุทธ์ด้วยการสร้างภาพในอนาคต

4)  Game Theory

วิธีคิดเชิงกลยุทธ์ระดับรางวัลโนเบลที่ได้รับการยอมรับทั่วโลก แนวคิดGame Theory ของ John Nash ด้วย  หลักการคิดเชิงกลยุทธ์อันโดดเด่น ที่คำนึงบุคคลหรือผลกระทบอื่นอย่างมีพลวัตรอีกด้วยเนื่องจาก”สถานการณ์” ย่อมไม่หยุดนิ่ง อาทิ การใช้ทฤษฎีเกมส์ในการเข้าใจกลยุทธ์ของคู่แข่ง   และการตัดสินใจเชิงกลยุทธ์ หรือใช้เพื่อการเจรจาต่อรอง  ดังนั้นทฤษฎีเกมส์จึงเป็นรูปแบบการคิดเชิงกลยุทธ์  ใช้ในการวิเคราะห์และประเมินสถานการณ์ที่ผู้บริหารไม่ควรพลาด

- คิดเชิงกลยุทธ์แบบ Game Theory

Zero Sum Game

Negative Sum Game

Positive Sum Game

- การใช้ทฤษฎีเกม : Rival’s Strategy

- Distributive & Integrative Problem Solving

- กระบวนความคิดในการใช้ทฤษฎีเกมส์ ในการบริหารเชิงกลยุทธ์

5)  Innovation Thinking

ปัจจุบันผู้บริหารได้ให้ความสำคัญต่อ Strategic Innovation  นวัตกรรมทางกลยุทธ์มากขึ้น    การที่องค์กรใดองค์กรหนึ่งจะประสบความสำเร็จเหนือคู่แข่งได้นั้น   จะต้องเกิดขึ้นจากความแตกต่างเหนือกว่าองค์กรอื่น ซึ่งไม่ได้จำกัดอยู่เพียงนวัตกรรมในด้านผลิตภัณฑ์เท่านั้น แต่หมายถึงการสร้างความคิดที่เรียกว่า Strategic Innovation Thinking   เราได้จะเรียนรู้

- เทคนิคการพัฒนา Creative Thinking  & Innovation Thinking

- คิดแบบ BlueOcean

- การสร้างการเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธ์เพื่อให้เกิดสิ่งใหม่ๆ

- การบริหาร Value Innovation

 

http://www.sbdc.co.th/course-outline.php?item=319

ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

หลักสูตร มาเป็นผู้นำหน่วยงาน..จัดซื้อกัน (Be Purchasing Leader)

ขอเชิญอบรม หลักสูตร มาเป็นผู้นำหน่วยงาน..จัดซื้อกัน (Be Purchasing Leader) เมื่อคุณต้องมารับผิดชอบหน่วยงานจัดซื้อ ก็ช่วยไม่ได้ที่คุณจะต้องรู้ว่า งานจัดซื้อ เป็นอย่างไร! ต้องรับผิดชอบ อะไร ! และต้องทำอะไรบ้าง ! และต้องรู้อะไรบ้าง!

หลักสูตร เทคนิคการสั่งซื้อวัตถุดิบเพื่อการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ ( Material Requ...

MRP (Material Requirements Planning) คือ แผนหรือตารางความต้องการวัตถุดิบ (Items) ในแต่ละวันของการผลิต และตามสูตรการผลิต (Bill of Material: BOM) ของสินค้าหนึ่ง ๆ ดังนั้น MRP จึงขึ้นอยู่กับความต้องการวัตถุดิบจากสูตรการผลิตและตามปริมาณที่ลูกค้าต้องการ

หลักสูตร เจาะลึกการนำเข้า 2024 (Deep Import 2024)

ขอเชิญอบรม หลักสูตร เจาะลึกการนำเข้า 2024 (Deep Import 2024) #การนำเข้า ก็คือ การทำพิธีการศุลกากร ซึ่งจะต้องดำเนินการตามกฎระเบียบของกรมศุลกากรอย่างเคร่งครัด และการดำเนินนั้นมีขั้นตอนที่มีรายละเอียดมาก จนต้องมีผู้มาดำเนินการแทนผู้นำเข้า