การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การกู้ชีพ และการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ (Basic First Aid – CPR and AED)

รหัสหลักสูตร: 65601

จำนวนคนดู 2211 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การกู้ชีพ และการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ  (Basic First Aid – CPR and AED)
รอบที่

-

ยังไม่มีรอบจัดในขณะนี้

ท่านสามารถลงทะเบียนล่วงหน้าเพื่อรับการแจ้งเตือนเมื่อมีรอบใหม่

การเกิดอุบัติเหตุในที่ทำงานเป็นสิ่งที่ไม่มีใครที่จะสามารถคาดคิดได้ เพราะอุบัติเหตุมักจะเกิดขึ้นได้ตลอดเวลาเสมอ ถึงแม้ว่าพนักงานจะระมัดระวังตัวหรือมีความชำนาญในงานที่ทำอยู่เป็นอย่างดี แต่ละครั้งที่เกิดขึ้นก็มักจะมากับความเสียหาย ไม่ว่าจะเป็นชีวิตของพนักงานเองหรือทรัพย์สินของทางบริษัท อีกทั้งการเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากสภาพร่างกายหรือการเจ็บป่วยทั่วไปซึ่งไม่อาจคาดการณ์ล่วงหน้าได้


ดังนั้น หลักสูตร “การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การกู้ชีพ และการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ” จึงเป็นหลักสูตรที่จะสามารถทำให้ผู้เข้าอบรมเกิดความรู้ความเข้าใจในหลักการและวิธีการในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างถูกวิธี และการใช้เครื่องมือ AED เพื่อกู้ชีพอีกด้วย ทั้งนี้ เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลดค่าใช้จ่ายทางด้านค่ารักษาพยาบาลภายในองค์กรอีกด้วย


วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

1.เพื่อให้บุคลากรมีทักษะในการช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวในเบื้องต้น ได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล

2.เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพในด้านกากู้ชีพในเบื้องต้นด้วยวิธี CPR แบบมาตรฐานสากล

3.เรียนรู้วิธีการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ AED ในเบื้องต้นได้



หัวข้ออบรมสัมมนา
•หลักการปฐมพยาบาลเบื้องต้น (First Aid Principle)

        oการประเมินสถานการณ์ สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย (Scene Sizeup and Scene Safety)

        oการขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (Additional Resources)

        oการประเมินกลไกการบาดเจ็บ (Machanism of Injury)

        oการใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองสำหรับการปฐมพยาบาล (Personal Protection Equipment: PPE)

        oการประเมินระบบสำคัญของการมีชีวิต (Survival System Assessment)

        oการตรวจประเมินสภาพความเจ็บป่วยเบื้องต้น (Primary Assessment)

        oฝึกปฏิบัติแบบจำลองสถานการณ์ (Simulation Practice)

•ภาวะการเจ็บป่วยฉุกเฉิน จากสาเหตุทั่วไป (Medical Emergency Illness)

        oภาวะเป็นลม และการปฐมพยาบาล (Fainting First Aid)

        oภาวะหมดสติ และการปฐมพยาบาล (Unconscious First Aid)

        oโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน และการปฐมพยาบาล (Coronary Artery Syndrome First Aid)

        oโรคหลอดเลือดสมอง และการปฐมพยาบาล (Stroke First Aid)

        oภาวะฉุกเฉินในผู้ป่วยเบาหวาน (Diabetes Emergency First Aid)

        oผู้ป่วยชัก และการปฐมพยาบาล (Seizures First Aid)

        oอาการคลื่นไส้ อาเจียน และการปฐมพยาบาล (Nausea and Vomiting First Aid)

        oอาการถ่ายเหลวเฉียบพลัน และการปฐมพยาบาล (Acute Diarrhea First Aid)

        oเลือดกำเดา และการปฐมพยาบาล (Epistaxis First aid)

        oภาวะแพ้รุนแรง และการปฐมพยาบาล (Anaphylaxis First Aid)

        oแมลง สัตว์กัด ต่อย และการปฐมพยาบาล (Insect Bites First Aid)

•บาดแผล การตกเลือด และการปฐมพยาบาล (Wound and Bleeding First Aid)

        oกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของผิวหนัง (Anatomy and Physiology of Skin)

        oประเภทของบาดแผล (Wound Types)

        oแผลถลอก (Abrasion Wound)

        oแผลตัดเฉือน (Cut Wound)

        oแผลฉีกขาด (Lacerated Wound)

        oแผลมีวัตถุปักคา (Impaled Object Wound)

        oแผลทะลุที่หน้าอก (Puncture Chest Wound)

        oแผลอวัยวะถุกตัดขาด (Ambutated Wound)

        oแผลอวัยวะโผล่หน้าท้อง (Evisceration Wound)

        oแผลจากความร้อน (Heat Burn)

        oแผลจากสารเคมี (Chemical Burn)

        oแผลจากไฟฟ้าช็อท (Electric Burn)

•การบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ ข้อต่อ กระดูกหัก และการปฐมพยาบาล (Muscle, Joint and Bone Injyries)

        oกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของกล้ามเนื้อ (Anatomy and Physiology of Muscle)

        oหลักการประเมินความรุนแรงการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ (Muscle Injuries Assessment)

        oการปฐมพยาบาลกล้ามเฟนื้อบาดเจ็บ (Muscle Injuries First Aid)

        oกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของข้อต่อ (Anatomy and Physiology of Joint)

        oหลักการประเมินความรุนแรงการบาดเจ็บของข้อต่อ (Joint Injuries Assessment)

        oการปฐมพยาบาลข้อต่อบาดเจ็บ (Joint Injuries First Aid)

        oกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของกระดูก (Anatomy and Physiology of Bone)

        oหลักการประเมินประเภท และความรุนแรงของกระดูกหัก (Broken Bone Assessment)

        oกระดูกหักประเภทต่างๆ และการปฐมพยาบาล (Broken Bone First Aid)

•การบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ ข้อต่อ กระดูกหัก และการปฐมพยาบาล (Muscle, Joint and Bone Injyries)

        oกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของกล้ามเนื้อ (Anatomy and Physiology of Muscle)

        oหลักการประเมินความรุนแรงการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ (Muscle Injuries Assessment)

        oการปฐมพยาบาลกล้ามเฟนื้อบาดเจ็บ (Muscle Injuries First Aid)

        oกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของข้อต่อ (Anatomy and Physiology of Joint)

        oหลักการประเมินความรุนแรงการบาดเจ็บของข้อต่อ (Joint Injuries Assessment)

        oการปฐมพยาบาลข้อต่อบาดเจ็บ (Joint Injuries First Aid)

        oกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของกระดูก (Anatomy and Physiology of Bone)

        oหลักการประเมินประเภท และความรุนแรงของกระดูกหัก (Broken Bone Assessment)

        oกระดูกหักประเภทต่างๆ และการปฐมพยาบาล (Broken Bone First Aid)

•การยกและการเคลื่อนย้ายผู้เจ็บป่วย (Victim Lifting and Moving)

        oการยกและเคลื่อนย้ายผู้เจ็บป่วยอย่างปลอดภัย (Safty Lifting and Moving)

        oการเคลื่อนย้ายแบบฉุกเฉิน (Emergency Moving)

        oการเคลื่อนย้ายแบบปกติด้วยมือเปล่า การเคลื่อนย้ายด้วยอุปกรณ์ประยุกต์ และการเคลื่อนย้ายด้วยอุปกรณ์สำเร็จรูป

•การฝึกปฏิบัติแบบจำลองสถานการณ์ (Flor Simulation)

        oฝึกปฏิบัติการห้ามเลือดด้วยผ้าห้ามเลือด (Top Dressing)

        oการพันผ้ายืดห้ามเลือด (Elastic Bandage)

        oฝึกปฏิบัติการเข้าเฝือกชั่วคราว (Splinting) ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย

        oฝึกปฏิบัติการยกและเคลื่อนย้ายด้วยมือเปล่า

        oฝึกปฏิบัติการยกและเคลื่อนย้ายด้วยอุปกรณ์ประยุกต์

•การกู้ชีพขั้นพื้นฐาน (Cardio Pulmonary Resuscitaiton: CPR)

        oกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของระบบทางเดินหายใจ (Respiratory System)

        oกายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของระบบไหลเวียนโลหิต (Circulatory System)

        oระดับของการทำ CPR (Levels of CPR)

        oคุณภาพของการทำ CPR (High Quality of CPR)

        oฝึกปฏิบัติการทำ CPR แบบ 1 คน และแบบ 2 คน (One and Two Practical Rescue CPR)

        oสอบปฏิบัติการทำ CPR แบบ 1 คน และแบบ 2 คน (One and Two Rescue CPR Test)

•การใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ (Automated External Defibrillator)

        oประโยชน์ และการทำงานของเครื่อง AED

        oฝึกการใช้เครื่อง AED และสอบปฏิบัติการใช้เครื่อง AED


วิทยากร
คุณสมบัติผู้เข้าฟัง/กลุ่มเป้าหมาย
บุคลากรทั้งหมดในองค์กร
ภาษาในการบรรยาย
ไทย
ประกาศนียบัตร

สัมมนานี้ได้รับประกาศนียบัตร

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
อย่าลืมบอกผู้จัดงานว่าเห็นประกาศจากเวป "สัมมนาดีดี" นะคะ
เบอร์โทรศัพท์ :097-474-6644

หากท่านต้องการสมัคร การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การกู้ชีพ และการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ (Basic First Aid – CPR and AED)
กรุณากดปุ่ม 'สมัครเข้าฟัง' ด้านล่างนี้


ค่าฝึกอบรมสามารถหักค่าใช้จ่ายทางภาษีนิติบุคคลได้ 200%
ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd

หลักสูตรนี้สามารถจัดแบบ In-House Training (สอนเฉพาะองค์กรของคุณ) ได้ทั้งแบบ Onsite และ Online ขอใบเสนอราคา In-house Training

คำค้นประกาศนี้ Tags: อบรมปฐมพยาบาลเบื้องต้น

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

เจาะลึก การค้นหา/การคัดเลือก/การตรวจประเมิน/การทำข้อตกลงกับผู้ขายแบบครบถ้วน สำหร...

หัวข้อนี้ออกแบบเพื่อตอบโจทย์ความต้องการที่ครบถ้วน สำหรับ งานจัดหา (Procurement) เพราะคลอบคลุม ทุกขั้นตอนตั้งแต่การค้นหา / การคัดเลือก / การตรวจประเมิน ทุกองค์กรต้องการสนับสนุนที่ดีจากหน่วยงานจัดซื้อ แน่นอนหน่วยงานจัดซื้อนั้น มี 2 หน้าที่ ที่ต้องทำให้ได้

อบรมหลักสูตรออนไลน์ การจัดซื้ออะไหล่เพื่อการซ่อมบำรุงเครื่องจักร (Purchasing spa...

อบรม หลักสูตร “การจัดซื้ออะไหล่เพื่อการซ่อมบำรุงเครื่องจักร” (Purchasing spare parts in maintenance) #ส่งเสริมประสิทธิภาพการใช้งานและความน่าเชื่อถือของเครื่องจักร อุปกรณ์ ผ่านกระบวนการ จัดซื้อ จัดจ้าง และจัดเก็บที่มีประสิทธิภาพ