สมัคร 3 ท่านรับราคาสมาชิกทันที หลักสูตร การเขียนรายงานเชิงธุรกิจอย่างมีประสิทธิผล วันที่ 9 ตุลาคม 60 Tel. 089 606 0444

รหัสหลักสูตร: 46061

จำนวนคนดู 1324 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
ในการทำงานให้ประสบผลสำเร็จ การสื่อสารระหว่างกันอย่างสม่ำเสมอ ของผู้ร่วมงาน ไม่ว่าจะเป็นผู้บริหาร หัวหน้างาน หรือพนักงานปฏิบัติการ เป็นเรื่องสำคัญ และวิธีการหนึ่งที่นิยมใช้ในการสื่อสาร คือ การร่วมประชุมกัน เนื่องจากวิธีการนี้เอื้ออำนวยให้ผู้ร่วมงานได้มีโอกาสพบปะกัน เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและความคิดเห็น รวมทั้งแก้ปัญหาและตัดสินใจร่วมกัน ทั้งนี้ หลังจากการประชุม มักจะมีการเขียนรายงานการประชุม เพื่อบันทึกสิ่งต่างๆ ที่ได้ตกลงกันในที่ประชุมและส่งให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เพื่อกันลืมและเตือนว่า ใครจะต้องทำอะไรให้แล้วเสร็จตามที่ได้รับมอบหมายไป

อนึ่ง การจะเขียนรายงานการประชุมได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิผลนั้น จำต้องอาศัยหลายทักษะ ซึ่งรวมถึงการฟัง


ติดต่อขอรับรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่

คุณจิ๋ว  Tel. 089 606 0444, 090 645 0992

Line : hrdzenter

www.hrdzenter.com

E-mail : [email protected]

หัวข้ออบรมสัมมนา
1.ประเด็นปัญหาที่พบบ่อยในการเขียนรายงานเชิงธุรกิจ

2.การย่อความและสรุปความ

การตีความ

การวิเคราะห์ข้อมูล

วิธีการย่อความและสรุปใจความ

3.การเขียนรายงานแบบต่าง ๆ

รูปแบบและวิธีการเขียนรายงานที่ดี

การเขียนรายงานทางธุรกิจประเภทต่าง ๆ เช่น รายงานกิจกรรม รายงานความก้าวหน้า รายงานแสดงความคิดเห็น และรายงานการประชุม


9 ตุลาคม 2560
ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
คำค้นประกาศนี้ Tags: การเขียนรายงาน, ธุรกิจ, hr, อาจารย์ประภาภรณ์, hrdzenter, สัมมนาฟรี

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

เทคนิคการเช็คสต็อกอย่างมีประสิทธิภาพ ( Efficient Stock & Inventory Control Tech...

การควบคุมสินค้าคงคลัง เป็นสิ่งที่จำเป็นและสำคัญมาก โดยใช้สำหรับแสดงปริมาณและชนิดของสินค้าคงคลังว่ามีมากน้อยเพียงใดในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง และเพื่อสามารถติดตาม ควบคุมได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยให้มีประมาณสินค้าคงคลังไม่มากจนกลายเป็นต้นทุนที่จมอยู่ในคลังสินค้าแล