กฎหมายแรงงานและประกันสังคมสำหรับฝ่ายบุคคลมือใหม่

รหัสหลักสูตร: 58204

จำนวนคนดู 1191 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
ครอบคลุมทุกประเด็น ปัญหาด้านข้อพิพาทแรงงานที่เกิดบ่อยในองค์กร 
หัวข้ออบรมสัมมนา
1.คำนิยามของคำว่า นายจ้าง – ลูกจ้าง – สัญญาจ้าง มีความหมายอย่างไร.? • ยกตัวอย่างประกอบ นายจ้าง – ลูกจ้าง – สัญญาจ้าง 10 กรณี

2.สวัสดิการที่นายจ้างจ่ายให้ลูกจ้าง สวัสดิการอะไรเป็นค่าจ้าง-สวัสดิการอะไรไม่เป็นค่าจ้าง เพราะจะมีผลต่อการเอาไปรวบเป็นค่าจ้าง ( กรณีออกจากงาน ) • ยกตัวอย่างสวัสดิการต่างๆ 10 ประการ

3.การสร้างแรงงานสัมพันธ์อันดีงามระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างที่ผู้บริหารงาน HR. เพิ่งปฏิบัติในองค์กรมีกรณีใดบ้าง.? • ยกตัวอย่าง การทำกิจกรรมต่างๆ 10 กิจกรรม

4.การออกหนังสือของ HR. ที่ถูกต้องเขียนให้ดี มีคุณภาพ เขียนให้ควบคุมความผิด เพื่อให้มีผลทางกฎหมายต้องเขียนอย่างไร.? • มีตัวอย่างการเขียนหนังสือเป็นประกาศ – เขียนระเบียบปฏิบัติ - หรือเขียนการออกหนังสือเป็นคำสั่งต่างๆ แจกให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา 18 รายการ

5.ผู้บริหาร – HR. – หัวหน้างาน เมื่อพบปัญหา 15 ประการ ต่อไปนี้จะต้องดำเนินการอย่างไร.? จึงจะเป็นธรรม ต่อนายจ้าง – ลูกจ้าง • มาทำงานสายประจำ – ลาไม่ถูกระเบียบ – ลากิจ – ลาป่วย – ไม่เข้าร่วมประชุม – ออกนอกหน่วยงานบ่อยๆ – เสพสิ่งมึนเมา – เล่นโทรศัพท์ในเวลางาน – ใช้คอมพิวเตอร์ไม่ใช่เรื่องงาน – ทำร้ายร้างการเพื่อนร่วมงาน – ไม่ผ่านทดลองงาน – เบิกค่าพาหนะเกิน – ไม่เซ็นรับในหนังสือเตือน – ไม่ไปตามคำสั่งย้าย – ออกจากงานไม่ถึง30วัน

6.การทำผิดที่เลิกจ้างได้โดยไม่ต้องบอกกล่าวล่วงหน้า – ไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย – ค่าเสียหาย – วันหยุดพักผ่อนประจำปี – เงินสมทบต่างๆ มีกรณีใดบ้าง.? • ยกตัวอย่างการทำผิด 10 กรณี

7.เลิกจ้างอย่างไร ไม่ให้เกิดปัญหาลูกจ้างฟ้องนายจ้างภายหลัง ( กรณีไม่มีความผิด-กรณีมีความผิด หรือกรณีเข้าข่ายมีความผิด ) • ยกตัวอย่าง 10 กรณี

8.กฎหมายคุ้มครองแรงงานฉบับแก้ไขใหม่กำลังจะประกาศใช้ให้ผู้ใช้แรงงานทั่วประเทศได้รับสิทธิประโยชน์เพิ่มขึ้นจากเดิม ซึ่งอาจจะมีผลบังคับใช้ในปี พ.ศ.2562 นี้มีอะไรบ้าง • ได้รับสวัสดิการเพิ่ม 7 ประการ

ภาคบ่าย

กฎหมายประกันสังคมคุ้มครองลูกจ้างตามมาตรา 33 อย่างไร.? กองทุนประกันสังคม • การส่งเงินเข้ากองทุน นายจ้าง – ลูกจ้าง – ภาครัฐ • การรักษาพยาบาลกรณีเจ็บป่วย • สิทธิการเบิกเงินค่าขาดรายได้ขณะเจ็บป่วย • การประเมินความศูนย์เสีย • สิทธิทางทุพพลภาพ

• กรณีเสียชีวิต – ผู้จัดการศพ – ผู้มีสิทธิได้รับเงินบำเหน็จ • สิทธิทางคลอดบุตร – สงค์เคราะห์บุตร – ขูดหินปูน – อุดฟัน – ถอนฟัน กองทุนเงินทดแทน • การส่งเงินเข้ากองทุน มีภาครัฐ และตามสัดส่วนของนายจ้าง • การรักษาพยาบาล กรณีเจ็บป่วยอันเนื่องมาจากการทำงาน • สิทธิในการได้รับค่าจ้าง กรณีเจ็บป่วย • การประเมินความศูนย์ เสียทางร่างกาย • สิทธิทุพพลภาพ อันเนื่องมาจาก การทำงาน • กรณีเสียชีวิต – ผู้จัดการศพ – ผู้มีสิทธิได้รับเงินบำเหน็จ • สิทธิกรณีออกจากงาน – ผู้มีสิทธิได้รับการว่างงาน – บำนาญชราภาพ


วิทยากร
ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
คำค้นประกาศนี้ Tags: กฎหมายแรงงาน, กฎหมายประกันสังคม, อบรมกฎหมายแรงงาน, หลักสูตรกฎหมายแรงงาน, วิทยากรกฎหมายแรงงาน, ข้อพิพาทแรงงาน