บริษัท สัมมนาดีดี จำกัด ขอแจ้งปิดวันสงกรานต์ในวันที่ 12-15 เมษายน 2567 และจะเปิดทำการปกติในวันอังคารที่ 16 เมษายน 2567 (กรณีเร่งด่วน ติดต่อได้ผ่าน LINE @seminardd)

เพิ่มศักยภาพการคิดเชิงวิเคราะห์และการคิดอย่างมีวิจารณญาณเพื่อยกระดับผลงาน

รหัสหลักสูตร: 59586

จำนวนคนดู 1977 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
ประโยชน์และสิ่งที่ผู้เข้าอบรมจะได้รับ

1. ตระหนักถึงความสาคัญของการคิดเชิงวิเคราะห์ที่มีต่อความสาเร็จในการดาเนินงานและการดาเนินชีวิต มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ แนวคิด หลักการ เทคนิคและเครื่องมือของการคิดเชิงวิเคราะห์

2. ได้เรียนรู้เทคนิควิธีการคิดเชิงวิเคราะห์และหลักการของการคิดเชิงวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ

3. สามารถสกัดความหมายจากข้อมูลธุรกิจ เพื่อนามาใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์สาหรับการแก้ไขปัญหาในการทางานที่ได้รับมอบหมาย การตัดสินใจและการวางแผนการทางานให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิผล

4. รู้และเข้าใจหลักการและแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดสาหรับการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล คิดแบบระบบเพื่อการตัดสินใจและแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิผล

5. ตระหนักถึงความสาคัญของข้อมูล และสามารถระบุถึงข้อมูลที่สาคัญจาเป็นซึ่งเกี่ยวข้องในงาน และสามารถบริหารจัดการเพื่อนาข้อมูลมาใช้ประโยชน์ต่อยอดให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการในยุค Big Data

6. ได้ฝึกฝนทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์ จากตัวอย่างปัญหาจริงทางธุรกิจขององค์กรหรือปัญหาจริงในงานที่รับผิดชอบของผู้เข้าอบรม โดยนาวิธีการปฏิบัติที่ดีที่สุดของการแก้ไขปัญหา (Best Practices) ไปกาหนดมาตรการทางเลือกอย่างรอบคอบเพื่อให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดและลดผลข้างเคียงที่ไม่พึงปรารถนา (Undesired or Negative Side Effect)

หัวข้ออบรมสัมมนา
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) สาคัญต่อความสาเร็จและล้มเหลวอย่างไร? (เรียนรู้ผ่านเรื่องราวสมมติและการจาลองสถานการณ์)

o เข้าใจสาเหตุของผลลัพธ์และปรากฎการณ์ที่ไม่พึงปรารถนาซึ่งมักจะเกิดขึ้นในการคิดวางแผน แก้ปัญหาและตัดสินใจ (Failure and Negative Impacts in Thinking)

Workshop เสวนาระดมความคิดวิเคราะห์ข้อบกพร่องและสาเหตุความล้มเหลวของ

การคิด วางแผน แก้ปํญหาและตัดสินใจ

o สรุปข้อบกพร่องและจุดอ่อนในการคิดที่อาจเกิดขึ้นได้ การประเมินตนเองและร่วมกันค้นหาแนวทางในการป้องกันหลีกเลี่ยง และพัฒนาปรับปรุงศักยภาพในการคิดสู่การเป็นนักคิดที่มีประสิทธิผลสูงสาหรับคนทางานและนักบริหารมืออาชีพในศตวรรษที่ 21

 องค์ประกอบของการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

 คุณลักษณะของนักคิดที่มีวิจารณญาณ

 มาตรฐานและมิติการประเมินคุณภาพของการคิด

รู้จักและเข้าใจการคิดเชิงวิเคราะห์ (Analytical Thinking)

o ความหมายของการวิเคราะห์และการคิดเชิงวิเคราะห์ (What is Analytical Thinking?)

o วิเคราะห์ทาไม? สถานการณ์ใดที่ต้องการการวิเคราะห์? ความสาคัญและประโยชน์ของการคิดเชิงวิเคราะห์

o องค์ประกอบของการคิดเชิงวิเคราะห์ที่มีคุณภาพ

o แนวทางที่เป็นรูปธรรมของการพัฒนาทักษะความสามารถของการคิดวิเคราะห์

 เทคนิค “How does it work?”

 เทคนิค “Fact-Base Thinking and Logical Diagramming”

 Management by Fact : Gemba, Gembutsu, Genjitsu, Genri, Gensoku

 MECE (Mutually Exclusive Collectively Exhaustive) Principle

Workshop ฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ด้วยเทคนิค “Logical Diagram”

Discussion การกาหนดกลยุทธ์และมาตรการปรับปรุงผลการดาเนินงาน

(Performance Improvement) ด้วยการคิดเชิงวิเคราะห์

เพิ่มศักยภาพการคิดเชิงวิเคราะห์ด้วยเทคนิคและเครื่องมือคิดต่างๆ (Tools and Techniques to increase Analytical Thinking Capability)

o Visualize Thinking Techniques

o ขยายศักยภาพการคิดให้กว้างและลึกด้วยเทคนิค Mind Mapping

o Additional Tools and Techniques for Effective Analytical Thinking

 Why-Why Analysis

 Cause and Effect Diagram

 Affinity Diagram

 Tree Diagram

 Relations Diagram

 Pareto Principle

 Statistics and Regression

Data Analytics และการทางานในยุคข้อมูลสารสนเทศและ Big Data

o จะนาข้อมูลมาใช้ประโยชน์ต้องเตรียมความพร้อมอย่างไรบ้าง?

o Gap Analysis เกี่ยวกับความพร้อมสู่การทางานด้วยการใช้ข้อมูลและการวิเคราะห์

เรียนรู้ตามอัธยาศัยจากวีดีทัศน์ตัวอย่าง “การคิดวิเคราะห์ด้วยการใช้ข้อมูลและเทคนิคนักคิดวิเคราะห์”

สรุปการเรียนรู้ ถาม-ตอบ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน

วิทยากร
ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
คำค้นประกาศนี้ Tags: Thinking, Decision Making, Analysis, Thinking tools, การแก้ปัญหาและการตัดสินใจ, Business Problem Solving