การบริหารงานประจำวันด้วยเทคนิค 5 จริงและ 5 Why(Daily Management by 5 Gen & 5 Why)

รหัสหลักสูตร: 62052

จำนวนคนดู 1998 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
   การขจัดของเสียในงานการผลิตและลดต้นทุนในไลน์การผลิต ซึ่งความสูญเสียที่เป็นสาเหตุที่ถือว่าเป็นประเด็นสำคัญที่สุดในกระบวนการคือความผิดพลาดของพนักงาน (Human Error) ดังนั้นถ้าหัวหน้างานและพนักงานปฏิบัติการเข้าใจความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นในมิติของ  “ข้อบกพร่องและสาเหตุที่สัมพันธ์กัน” และเข้าใจ “กลไกป้องกันความผิดพลาด”  ในกระบวนการ ซึ่งจะส่งผลให้การปรับปรุงประสิทธิภาพเพื่อลดของเสียได้รับการแก้ไขอย่างชัดเจน        
หัวข้ออบรมสัมมนา
ตัวอย่างหัวข้อเรียนรู้ :

 ทบทวนการบริหารประจำวันตามหลัก S-D-C-A

 ทบทวนเรื่องปัญหา ปัญหาคุณภาพ

 และความสูญเปล่า 3 MUs

 แนวทางการป้องกันการเกิดซ้ำของปัญหา (Preventive Action)

 แนวทางแก้ไขปัญหาด้วยเทคนิค 3 Gen (Corrective Action)

 แนวทางเพิ่มประสิทธิภาพ 3 Gen ด้วย 2 Gen

 ทบทวนเครื่องมือของการแก้ไขปัญหาคุณภาพ

รายละเอียดโปรดดูในหน้าถัดไป.....

หัวข้อเรียนรู้ในรายละเอียด :

ทบทวนการบริหารประจำวันตามหลัก S-D-C-A

ทบทวนเรื่องปัญหา ปัญหาคุณภาพ และความสูญเปล่า 3 MUs

   > คุณภาพและปัญหาคุณภาพคืออะไร ? และ จะจัดการอย่างไรดี ?

   > สาเหตุ 5 ประการที่ทำให้เกิดของเสีย (Defective of Quality)

   > ความสูญเปล่า 3 MUs ในกระบวนการทำงาน (Muda, Muri, Mura)

แนวทางการป้องกันการเกิดซ้ำของปัญหา (Preventive Action)

แนวทางแก้ไขปัญหาด้วยเทคนิค 3 Gen (Corrective Action)

   > Genba : สถานที่จริง > Genbutsu : ของจริง > Genchi : สถานการณ์จริง

แนวทางเพิ่มประสิทธิภาพ 3 Gen ด้วย 2 Gen

   > Genri : หลักการ/ทฤษฎี> Gensoku : ระเบียบกฎเกณฑ์

ตัวอย่างของ 5 Gen พร้อม Workshop และการให้คำแนะนำของวิทยากร

   > ปัญหาคืออะไร และจะวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาอย่างไร

   > ประเภทของข้อมูลและการแก้ไขปัญหา

   > กระบวนการคิดรูปแบบต่างๆ เพื่อการตัดสินใจแก้ไขปัญหา

ทบทวนเครื่องมือของการแก้ไขปัญหาคุณภาพแบบเดิมที่นิยมนำมาใช้

ทบทวนเรื่องการจัดการองค์ความรู้และ QC Story

การดำเนินการแก้ไขปัญหาผ่าน QC Story ด้วย 7 เครื่องมือใหม่

   > แผนภูุมิกลุ่มความคิด (Affinity Diagram) > แผนภูุมิความสัมพันธ์ (Relations Diagram)

   > แผนภูุมิต้นไม้ (Tree Diagram) > แผนภูุมิแมทริกซ์ (Matrix Diagram)

   > แผนภูุมิลูกศร (Arrow Diagram) > แผนภูุมิขั้นตอนการตัดสินใจ (Process Design Program Chart)

แนวทางการประยุกต์ใช้เครื่องมือ 7QC Tools ในการแก้ไขปัญหา

ฝึกปฏิบัติ : ค้นหาสาเหตุของปัญหาจริงด้วย 3 Gen

เทคนิคการวิเคราะห์สาเหตุรากเหง้าของปัญหาด้วย 5 Why Analysis

 > พื้นฐานของเทคนิค 5 Why Analysis

 > ข้อสังเกตในการใช้เทคนิค 5 Why Analysis

 > ฝึกปฏิบัติ : วิเคราะห์สาเหตุรากเหง้าของปัญหาด้วย 5 Why Analysis

แนวทางการเขียนรายงานการวิเคราะห์ปัญหา พร้อมตัวอย่างรายงานการวิเคราะห์ปัญหา

ฝึกปฏิบัติ : การเขียนรายงานการวิเคราะห์ปัญหา พร้อมนำเสนอและคำแนะนำจากวิทยากร

สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้

    O กระบวนการธุรกิจ (DPSR)และกระบวนการบริหาร(PDCA)

    O สาเหตุที่ต้องลดต้นทุนและตระหนักการเพิ่มผลิตภาพในองค์กร

    O ความสูญเปล่าและเทคนิคและหลักการการค้นหาความสูญเปล่า 7 ประการ

    O แนวความคิดลูกค้าและความเป็นลูกค้าซึ่งกันและกัน (Juran’s Triple roles)

    O Workshop I: ตัวย่างการค้นหาความสูญเปล่าในกระบวนการทำงาน

PART2: พื้นฐานและแนวคิดการลดของเสียในกระบวนการผลิต

 O แนวคิดของการบริหารงานสมัยใหม่ (Management = Standardization + Improvement Activity)

    หลักการของความเป็นระบบ (System) และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement)

 O วงจรการควบคุมผลิตภัณฑ์ SDCA และวงจรปรับปรุงผลิตภัณฑ์โดย PDCA

 O ความหมายและประเภทของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต (Sporadic & Chronic Waste)

 O ปัญหาคุณภาพในมิติของความบกพร่อง (Defect) และความไม่ตรงตามข้อกำหนด (NC-Nonconformity)

 O ประเภทของเสียตามตัวรูปแบบ SIPOC

 O มาตรการแก้ไขปัญหาของเสียในกระบวนการ ได้แก่ การทำการแก้ไขให้ถูกต้อง (Correction)

       การปฏิบัติการแก้ไข (Corrective Action : C/A) และการปฏิบัติการป้องกัน (Preventive Action : P/A)


ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
คำค้นประกาศนี้ Tags: การขจัดของเสียในงานการผลิต, มาตรการแก้ไขปัญหา, กลไกป้องกันความผิดพลาด, วงจรการควบคุมผลิตภัณฑ์