ครบเครื่อง เรื่อง “การนำเข้า-ส่งออก”

รหัสหลักสูตร: 56233

จำนวนคนดู 1326 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
การนำเข้าสินค้าในปัจจุบันมีการขยายตัวเติบโตมากขึ้นตามความเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ และการตกลงทางการค้าว่าด้วยเขตการค้าเสรี (FTA) โดยมีหลักการที่พยายามลดอุปสรรคทางการค้าลง โดยเฉพาะการลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีระหว่างคู่สัญญา เนื่องจากขั้นตอนการนำเข้าสินค้ามีขั้นตอนที่ยุ่งยาก และมีปัญหาทางด้านต้นทุน ผู้ประกอบธุรกิจนำเข้าสินค้าจะต้องทำความเข้าใจและศึกษาข้อปฏิบัติให้ถูกต้อง เพื่อให้การประกอบธุรกิจนำเข้าสินค้าเป็นไปอย่างสะดวกและได้รับผลสำเร็จคุ้มค่ากับความตั้งใจการลงทุน
หัวข้ออบรมสัมมนา
• ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการนำเข้า-ส่งออก

o การไหลของวงจรการนำเข้า-ส่งออก ที่สำคัญ 

o กระบวนการนำเข้า 

o กระบวนการส่งออก 

o การเจรจา การทำสัญญาในการทำธุรกรรมนำเข้า-ส่งออก 

o กระบวนการส่งหรือรับสินค้าเมื่อเกิดรายการขาย หรือ Order ในการนำเข้า-ส่งออก 

• ขั้นตอนการทำธุรกิจนำเข้า-ส่งออก และการจัดทำเอกสารที่เกี่ยวข้อง 

O ขั้นตอนในการทำธุรกิจนำเข้า-ส่งออก (Import-Export Process) 

o เอกสารทางการเงิน (Financial Document) 

o เอกสารทางการขนส่ง (Transport Document) 

o เอกสารทางการค้า (Commercial Document) 

• กรอบความตกลงอาเซียนว่าด้วยการอำนวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน 

1. กำหนดผู้ซื้อเป้าหมาย 

1.1 เลือกผู้ซื้อเป้าหมาย 

1.2 ตรวจสอบสถานภาพทางการเงินของผู้ซื้อ 

1.3 เสนอขาย 

2. การทำสัญญาข้อตกลงในการซื้อขาย 

2.1 ข้อควรระวัง 

2.2 เงื่อนไขในสัญญาต้องมีเพื่อลดความเสี่ยง 

2.3 พิจารณาข้อกำหนดทางการค้า 

3. วิธีการส่งสินค้าออกและการหาระวางบรรทุกสินค้า 

    การขนส่งทางทะเล การขนส่งทางอากาศ การขนส่งทางรถไฟ การขนส่งทางรถบรรทุก และส่งสินค้าทางพัสดุภัณฑ์ทางอากาศ 

4. วิธีการส่งมอบสินค้าต้องอาศัยข้อกำหนดทางการค้าเป็นตัวกำหนด เพื่อไม่ให้เสียเปรียบ 

     (International Commercial Terms หรือ Incoterms ® 2010) 

       EXW (Ex-Works) 

       FCA (Free Carrier) 

      FAS (Free Alongside Ship) 

      FOB (Free on Board) 

      CFR (Cost and Freight) 

      CPT( Carriage Paid To) 

      CIF (Cost Insurance and Freight) 

      CIP (Carriage and Insurance Paid To) 

      DAT (Delivered at Terminal) 

      DAP (Delivered at place) 

      DPP (Delivered Duty Paid)  

5. การวิเคราะห์เครื่องมือในการชำระเงิน 

    O Letter of Credit (L/C) ชำระด้วยแล็ตเตอร์ออฟเครดิต 

    O Bills For Collection (D/P & D/A) ตั๋วเรียกเก็บผ่านธนาคาร 

    O Consignment การฝากขาย 

    O Open Account (O/A) ผู้ขายเปิดบัญชีขายเชื่อให้กับผู้ซื้อ 

    O Cash Advanced Payment การชำระเงินล่วงหน้าหรือการชำระด้วยเงินสด 

6. การวิเคราะห์ Letter of Credit โดยละเอียด 

    O เงื่อนไขที่เสียเปรียบที่ไม่ควรรับ 

    O การเตรียมเอกสารและการตรวจเอกสารโดยใช้ข้อบังคับของ UCP 600 เป็นตัวพิจารณา 

    O การขอแก้ไข L/C (Amendment) ที่ถูกต้อง 

7. การขอให้มีการยืนยันการชำระเงินเพื่อลดความเสี่ยง 

8. การ Negotiate ตั๋วในการส่งออกกับธนาคาร 

9. การทำ Insurance ในการส่งออก 

10. วิธีการโอน L/C ให้กับผู้อื่น 

10.1 การโอนจำนวนเงินทั้งหมดใน L/C 

10.2 การโอนบางส่วนเพื่อรับเงินผลต่าง (ตั๋วประกบ) 

10.3 การโอนให้กับผู้รับโอนมากกว่าหนึ่งราย 

11. เทคนิคเบื้องต้นในการป้องกันความเสี่ยงจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ ด้วย Forword Contract, Spot Contract, ฯลฯ 

12. แนวทางในการเลือกประกันภัยเพื่อคุ้มครองสินค้าที่จัดซื้อจากต่างประเทศ 

13. แนวทางในการเลือกวิธีการขนส่งสินค้าที่สั่งซื้อจากต่างประเทศที่คุ้มค่า ปลอดภัย ทันเวลา และเหมาะสมกับสินค้า

ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd