สำรองที่นั่งด่วน !!! เจาะลึก จัดเต็ม 30 กรณีศึกษาข้อพิพาทแรงงานที่นายจ้างโดนลูกจ้างฟ้องร้องเป็นประจำ พบสุดยอดเทคนิคเพื่อป้องกัน / ระงับ / เจรจา /ไกล่เกลี่ย / ต่อสู้คดีให้ชนะในศาล

รหัสหลักสูตร: 51997

จำนวนคนดู 884 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
ต้องการสำรองที่นั่งกรุณาติดต่อเจ้าหน้าที่ HR DEE SOLUTION 087-0718100
หัวข้ออบรมสัมมนา
หัวข้ออบรม

1. ประมวลจริยธรรมของผู้บริหารงานบุคคล

2. ข้อบังคับในการทางานคืออะไร?

3. สภาพการจ้างคืออะไร?

4. ข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้างคืออะไร ?

5. กฎหมายคุ้มครองแรงงานและกฎหมายแรงงานสัมพันธ์ แตกต่างกันอย่างไร?

6. การกำหนดอำนาจหน้าที่หรือให้นโยบาย รปภ. ประจำบริษัท ไปปฏิบัติงานเพื่อรักษาความเรียบร้อยในองค์กร ควรออกคำสั่งอย่างไร ?

7. เมื่อมี รปภ. รายงานถึงพนักงานทำผิดวินัยในการทำงานผู้บริหารงานบุคคล ควรดำเนินการอย่างไร

8. การพิจารณารับพนักงานใหม่เข้าทำงานเพื่อใช้คนให้ตรงกับงาน ควรหาข้อมูลอย่างไร ?

9. การพิจารณากำหนดค่าจ้าง – ค่าสวัสดิการ ต้องทำสัญญาอย่างไร ?

10. การพิจารณาอนุมัติการลางานที่ไม่ถูกระเบียบ ควรดำเนินการอย่างไร ?

11. การแก้ไขปัญหาพนักงานมาทำงานสายเป็นอาจิณ ควรดำเนินการอย่างไร ?

12. พนักงานใช้สถานที่ทำงานเป็นสถานที่แสวงหาผลประโยชน์ให้กับตนเอง ควรดำเนินการอย่างไร ?

13. การพิจารณาอนุมัติเลื่อนตำแหน่งงาน ควรตรวจสอบอะไรบ้าง ?

14. การเปิดโอกาสให้พนักงานร้องทุกข์เกี่ยวกับปัญหาต่าง ๆ จะมีผลดี – ผลเสียอย่างไร ?

15. การตั้งกรรมการสวัสดิการและบทบาทหน้าที่ มีอะไรบ้าง ?

16. การสร้างแรงงานสัมพันธ์ที่ดี ควรปฏิบัติอย่างไร ?

17. การกระทำอันไม่เป็นธรรม คือการปฏิบัติอย่างไร ?

18. การเลิกจ้างไม่เป็นธรรม คือการปฏิบัติอย่างไร ?

19. พนักงานปฏิบัติตนผิดวินัยในการทำงานซึ่งจะต้องมีการกล่าวโทษเป็นหนังสือ มีอะไรบ้าง?

20. เมื่อเกิดปัญหา มีข้อพิพาทแรงงานเกิดขึ้นในองค์กร จะมีวิธีหรือใช้เทคนิคอย่างไรที่จะเข้าไปไกล่เกลี่ย ให้ปัญหานั้นยุติลงได้

21. พนักงานทำผิดอาญาโดยเจตนาต่อนายจ้าง จึงถูกเลิกจ้าง ลูกจ้างไปฟ้องศาลแรงงาน ผู้แทนฝ่ายนายจ้างจะใช้เทคนิคในการเจรจาอย่างไร ไห้คดีสิ้นสุดลง โดย ไม่ต้องต่อสู้คดีกัน และจากกันด้วยดี

22. การบอกเลิกจ้างลูกจ้างทดลองงานจะต้องแจ้งให้ทราบเมื่อไร?

23. เลิกจ้างลูกจ้างอย่างไร ไม่ให้เกิดปัญหามาฟ้องนายจ้างทีหลัง?

24. การดำเนินคดีในศาลแรงงาน เมื่อนายจ้างเป็นโจทก์หรือจำเลย ผู้รับมอบอำนาจเข้าดำเนินการ ควรปฏิบัติตนให้อยู่ในวินัยของศาลและจะต้องศึกษาหาข้อมูล มานำเสนอศาลอย่างไร?

25. การเสนอข้อมูลในชั้นไกล่เกลี่ยของผู้ประนอมซึ่งมาจาก / ฝ่ายลูกจ้าง / นายจ้าง / ผู้ประนอม จะนำเสนอและเปิดช่องอย่างไร ให้ผู้ประนอมไกล่เกลี่ยให้คดีจบลงได้

26. การต่อสู่คดีในชั้นศาล ต้องศึกษาหาข้อมูล เพื่อนำเสนอศาล มีอะไรบ้าง

- การหาพยานเอกสาร / การหาพยานบุคคล / การหาพยานวัตถุ / การเขียนคำให้การ / การแจ้บัญชีพยาน / การสืบพยานในศาล / การชั่งน้ำหนักพยาน / การแถลงปิดบัญชีพยาน

27. การยื่นอุทธรณ์ต่อศาลฎีกา เมื่อศาลชั้นต้นตันสินคดีไปแล้วจะยื่นอุทธรณ์อย่างไร

- จะยื่นอุทธรณ์ภายในกี่วัน? / จะส่งเอกสาร เพิ่มคำให้การ ได้อีกหรือไม่? / ในระหว่างอุทธรณ์ จะขออายัดทรัพย์สินของคู่กรณีได้หรือไม่? / ในระหว่างอุทธรณ์ ต้องนาเงินที่ศาลตัดสินคดีมาวางศาลหรือไม่? / ในระยะเวลาอุทธรณ์จะนานเท่าไร?

28. เมื่อศาลฎีกาตัดสินคดีไปแล้ว คู่ความไม่ปฏิบัติตาม จะต้องนาเรื่องเข้ากองบังคับคดีอย่างไร?

29. คำพิพากษาศาลฎีกาที่ตัดสินคดีในศาลแรงงานที่ควรรู้ มีอะไรบ้าง ?

30. พนักงานปฏิบัติตนผิดข้อบังคับในการทำงานในกรณีร้ายแรง ที่จะต้องถูกเลิกจ้างโดยไม่ได้รับเงินค่าชดเชย มีอะไรบ้าง?

ถาม –ตอบ –แนะนำ

กรณีศึกษา

- ลูกจ้างใช้วุฒิการศึกษาปลอมโดยมีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงเอกสารด้วย มาสมัครงาน นายจ้างตรวจสอบแล้วเลิกจ้าง ต่อมาลูกจ้างไปฟ้องศาลแรงงานเพื่อเรียกร้องค่าชดเชย

ผู้รับมอบอำนาจจากนายจ้างจะใช้เทคนิคให้ลูกจ้างถอนฟ้องได้อย่างไร โดยไม่ต้องต่อสู้คดีกัน

- พนักงานระดับหัวหน้างาน หรือ หัวหน้าแผนก สั่งพักงานผู้ใต้บังคับบัญชา ด้วยวาจา หรือไล่พนักงานออก

หัวหน้างานจะมีความผิดหรือไม่?

- เครื่องจักรได้รับความเสียหายขั้นร้ายแรง ตรวจสอบแล้วพบว่าขาดการบำรุงรักษาเท่าที่ควร

นายจ้างจะเลิกจ้างพนักงาน ระดับผู้จัดการ หรือให้รับใช้ความเสียหาย

โดยอ้างเหตุความเสียหายดังกล่าวได้หรือไม่?

- ลูกจ้างออกจากงานไปแล้ว เอาความลับของบริษัทไปเปิดเผยให้คู่แข่งทางธุรกิจหรือจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทเองซึ่งประกอบธุรกิจประเภทเดียวกัน

อดีตลูกจ้างจะมีความผิดอย่างไร?

- ลูกจ้างออกจากงานไปแล้ว ได้ทาความเสียหาย และนำทรัพย์สินไปด้วย

นายจ้างฟ้องศาลแรงงาน เพื่อให้ผู้ค้ำประกันเข้าทางานของอดีตลูกจ้าง เป็นผู้รับผิดร่วม

ผู้ค้าประกันจะต้องชดใช้ค่าเสียหายอย่างไร?

- นายจ้างพบโพยหวย กับลูกจ้างในโรงงาน สอบถามแล้วทราบว่า ซื้อหวยที่หน้าโรงงาน

นายจ้างจะลงโทษลูกจ้างได้หรือไม่ เพราะเหตุใด?

- เงินที่เป็น / ค่าจ้าง / เบี้ยขยัน / ค่ารถ / ค่าน้ำมันรถ / ค่ากะ / ค่าอาหาร / ค่าเดินทาง /ค่าที่พัก / โบนัสประจำปี

จะมีอายุความกี่ปี?


วันอังคารที่ 9 พฤษภาคม 2561
ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
คำค้นประกาศนี้ Tags: อบรมข้อพิพาทแรงงาน, หลักสูตรข้อพิพาทแรงงาน, เรียนข้อพิพาทแรงงาน, อบรมหลักสูตร HR, ข้อพิพาทแรงงาน, ึคดีแรงงาน

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

เจาะลึก การค้นหา/การคัดเลือก/การตรวจประเมิน/การทำข้อตกลงกับผู้ขายแบบครบถ้วน สำหร...

หัวข้อนี้ออกแบบเพื่อตอบโจทย์ความต้องการที่ครบถ้วน สำหรับ งานจัดหา (Procurement) เพราะคลอบคลุม ทุกขั้นตอนตั้งแต่การค้นหา / การคัดเลือก / การตรวจประเมิน ทุกองค์กรต้องการสนับสนุนที่ดีจากหน่วยงานจัดซื้อ แน่นอนหน่วยงานจัดซื้อนั้น มี 2 หน้าที่ ที่ต้องทำให้ได้