การใช้งานเครื่องกลึงซีเอ็นซี ภาคปฏิบัติ (Practical CNC Turning Machine)

รหัสหลักสูตร: 21421

จำนวนคนดู 2149 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
ปัจจุบันวงการอุตสาหกรรมในประเทศไทย เครื่องจักรที่ใช้สำหรับกระบวนการผลิตสมัยใหม่มักเป็นเครื่องจักรที่ใช้ระบบควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ และต้องนำเข้าจากต่างประเทศ เครื่องกลึงซีเอ็นซี (CNC Turning Machine) เป็นเครื่องจักรที่มีความสำคัญเป็นอย่างมาก ดังนั้นการใช้งานเครื่องจักรเหล่านี้ จำเป็นจะต้องใช้บุคลากรที่มีความรู้ ความชำนาญในการปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่ง ที่ทำให้เกิดการใช้ทรัพยากรที่อยู่ในประเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ดังนั้นศูนย์ค้นคว้าและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตทางอุตสาหกรรม (RDiPT) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงได้จัดหลักสูตร การใช้งานเครื่องกลึงซีเอ็นซี ภาคปฏิบัติ ขึ้น เพื่อเผยแพร่ความรู้ให้บุคลากรที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับเครื่องกลึงซีเอ็นซี มีความรู้และความเข้าใจ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เข้ารับการอบรมและภาคอุตสาหกรรม

สิ่งที่คุณจะได้รับ
1. สามารถใช้งานเครื่องกลึงซีเอ็นซี และปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
2. สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการทำงานกับเครื่องกลึงที่มีชุดควบคุมอื่นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
หัวข้ออบรมสัมมนา
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึงซีเอ็นซี
- เทคโนโลยีการตัดเฉือนงานกลึง
- เทคนิคและการแก้ปัญหางานกลึง
- การเขียนโปรแกรมงานกลึงซีเอ็นซี
- ฝึกเขียนโปรแกรมงานกลึงซีเอ็นซี (3D Simulation)
- ศึกษาและทดลองใช้งานเครื่องกลึงซีเอ็นซี
- ทดสอบปฏิบัติกลึงชิ้นงานจริง
- สรุป ตอบข้อซักถาม
วันที่ 25 – 27 มิถุนายน 2557 เวลา 9.00 - 16.00น.
ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
คำค้นประกาศนี้ Tags: เครื่องกลึง, ซีเอ็นซี

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

หลักสูตร : การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ ( Project Feasibility Analysis ) ...

ขอเชิญอบรม หลักสูตร : การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ ( Project Feasibility Analysis ) #โครงการนั้นมีความเหมาะสม มีความคุ้มค่าและมีความเป็นไปได้ที่จะมีโครงการนั้นอยู่หรือไม่ดังนั้นก่อนที่จะเริ่มโครงการใดๆ ก็ตาม เราควรจะต้องวิเคราะห์ความเป็นไปได้