ห้ามพลาด !! บริหารแรงงานต่างด้าวอย่างมี่ประสิทธิภาพสำหรับผู้เริ่มต้น กับหลักสูตรครบเครื่องเรื่อง MOU วันจันทร์ที่ 18 มิถุนายน 2561 นี้

รหัสหลักสูตร: 53751

จำนวนคนดู 1101 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd

สำรองที่นั่งกรุณาติดต่อเจ้าหน้าที่เบอร์โทรศัพท์ 087-0718100

หัวข้ออบรมสัมมนา
หัวข้ออบรม

1.ปัญหาที่ทำให้นายจ้าง ต้องจ้างแรงงานต่างด้าวมาจากอะไร?

2.ข้อตกลง MOU คือสัญญาระหว่างรัฐบาลไทย เมียนมา ลาว กัมพูชา มีขึ้นเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจระหว่างประเทศ หรือ อาเซี่ยนอย่างไร?

3.การนำแรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ เมียนมา – ลาว – กัมพูชา เข้ามาทำงานโดยผ่านบริษัทจัดนำเข้าแรงงานเข้ามาทำงานในประเทศ ต้องดำเนินการอย่างไร?

4.บริษัทจัดหาแรงงานต่างด้าวเข้ามาทำงานในประเทศ มีบทบาทหน้าที่ – ความรับผิดชอบต่อการประกอบธุรกิจอย่างไร?

5.จ้างแรงงานต่างด้าว 3 สัญชาติ ที่ผ่านพรมแดนเข้ามาเอง จ้างให้ถูกกฎหมายต้องดำเนินการอย่างไร?

6.จ้างแรงงานต่างด้าวที่เข้าเมืองมาเป็นผู้บริหารงานในองค์กร จ้างให้ถูกกฎหมายต้องดำเนินการอย่างไร?

7.การส่งเงินเข้ากองทุนประกันสังคมของแรงงานต่างด้าว ทุกประเภท ส่งในอัตราเท่าใด?

8.กองทุนประกันสังคม คุ้มครองผู้ประกันตนแรงงานต่างด้าว 7 กรณี มีอะไรบ้าง

9.กองทุนเงินทดแทนคุ้มครองผู้ประกันตน กรณีได้รับอุบัติเหตุ หรือประสบอันตรายอันเนื่องมาจากการทำงานให้กับนายจ้างอย่างไร?

10.Update กมคุ้มครองแรงงานฉบับใหม่กำลังจะประกาศใช้ เพื่อเพิ่มสิทธิให้ลูกจ้าง 7 กรณีมีอะไรบ้าง

11.นายจ้างกำหนดอัตราค่าจ้าง – ค่าตอบแทน – สวัสดิการ ให้ต่างกันได้หรือไม่

12.ได้รับสิทธิ์วันหยุดตามสัปดาห์ – วันหยุดพักผ่อนปะจำปี – วันหยุดตามประเพณี อย่างไร?

13.เพื่อไม่ให้มีผลกระทบต่อกระบวกการผลิต ต้องกำหนดวันหยุดพักผ่อน – วันหยุดตามประเพณี – หรือวันลา เพื่อกลับภูมลำเนาที่ประเทศต้นทาง ต้องดำเนินการอย่างไร?

14.ลูกจ้างต่างด้าวเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน หรือเป็นกรรมการสหภาพแรงงานได้หรือได้?

15.ลูกจ้างไม่ผ่านการทดลองงาน ผจ.บุคคลต้องดำเนินการอย่างไร?

16.ลูกจ้างลาออก เพื่อเปลี่ยนตัวนายจ้างใหม่ นายจ้างต้องดำเนินการอย่างไร?

17.ลูกจ้างมาสมัครงาน ทั้งที่ใบอนุญาตทำงาน ยังเป็นชื่อของนายจ้างเดิมอยู่ และยังไม่หมดอายุ นายจ้างจะรับเข้าทำงานได้หรือไม่?

18.ลูกจ้างชุมนุมกดดันนายจ้าง เพื่อเรียกร้องสวัสดิการเพิ่ม ผจ.บุคคล จะใช้เทคนิคอย่างไร ที่จะเข้าไปแก้ปัญหาให้ยุติลง

19.เพื่อให้การบริหารงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ผจ.บุคคลควรแต่งตั้งผู้แทนของคนต่างด้าว เพื่อเป็นสื่อกลางระหว่างนายจ้าง – ลูกจ้างอย่างไร?

20.ลูกจ้างที่ผ่านพรมแดนเข้ามาทำงาน นายจ้างต้องจัดที่พักให้หรือไม่?

21.เมื่อหน่วยงานภาครัฐตรวจสอบเอกสารของต่างด้าวรายบุคคล สิ่งที่ลูกจ้างจะแสดงคือเอกสารอะไรบ้าง

22.เมื่อภาครัฐตรวจสอบแรงงานต่างด้าวไม่มีเอกสารใดๆ จะมีความผิดอย่างไร?

23.นายจ้างรับลูกจ้างเข้าทำงานโดยไม่มีใบอนุญาตทำงาน ลูกจ้างและนายจ้างจะมีความผิดอย่างไร?

24.ผู้ใดประกอบธุรกิจนำแรงงานต่างด้าวเข้ามาทำงานให้กับนายจ้าง โดยผิดกฎหมายจะมีโทษอย่างไร?

25.เมื่อทำผิดวินัยร้ายแรง ต้องถูกเลิกจ้าง นายจ้างต้องดำเนินการอย่างไร?

26.นายจ้างตรวจพบแรงงานต่างด้าว มีพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับยาเสพติด นายจ้างจะดำเนินการอย่างไร?

27.ลูกจ้างต่างด้าวมีสิทธิ์ฟ้องศาลแรงงานตามกฎหมายไทยได้หรือไม่?

28.การกระทำอันไม่เป็นธรรม คือการปฏิบัติต่อลูกจ้างอย่างไร?

29.การเลิกจ้างไม่เป็นธรรม คือการเลิกจ้างลูกจ้างอย่างไร?

30.จ้างแรงงานต่างด้าว เกิดผลดี ผลเสีย อย่างไร?

31.คำพิพากษาฎีกา 60 คดี ที่ตัดสินคดีแรงงาน ซึ่งผู้บริหารงานบุคคลควรรู้มีอะไรบ้าง?

ถาม – ตอบ – แนะนำ

วันจันทร์ที่ 18 มิถุนายน 2561
ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
คำค้นประกาศนี้ Tags: การจ้างแรงงานต่างด้าว, กฎหมายแรงงานต่างด้าว, อบรมการจ้างแรงงานต่างด้าว MOU, อบรมกฎหมายแรงงานต่างด้าว, แรงงานต่างด้าว MOU, การบริหารจัดการแรงงานต่างด้าว

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

เจาะลึก การค้นหา/การคัดเลือก/การตรวจประเมิน/การทำข้อตกลงกับผู้ขายแบบครบถ้วน สำหร...

หัวข้อนี้ออกแบบเพื่อตอบโจทย์ความต้องการที่ครบถ้วน สำหรับ งานจัดหา (Procurement) เพราะคลอบคลุม ทุกขั้นตอนตั้งแต่การค้นหา / การคัดเลือก / การตรวจประเมิน ทุกองค์กรต้องการสนับสนุนที่ดีจากหน่วยงานจัดซื้อ แน่นอนหน่วยงานจัดซื้อนั้น มี 2 หน้าที่ ที่ต้องทำให้ได้

อบรมหลักสูตรออนไลน์ การจัดซื้ออะไหล่เพื่อการซ่อมบำรุงเครื่องจักร (Purchasing spa...

อบรม หลักสูตร “การจัดซื้ออะไหล่เพื่อการซ่อมบำรุงเครื่องจักร” (Purchasing spare parts in maintenance) #ส่งเสริมประสิทธิภาพการใช้งานและความน่าเชื่อถือของเครื่องจักร อุปกรณ์ ผ่านกระบวนการ จัดซื้อ จัดจ้าง และจัดเก็บที่มีประสิทธิภาพ