Up to date กฎหมายคุ้มครองแรงงานฉบับใหม่ ที่นายจ้าง…ฝ่ายบุคคลต้องทราบ วันพุธที่ 9 พฤษภาคม 2561

รหัสหลักสูตร: 52257

จำนวนคนดู 600 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
สำรองที่นั่งกรุณาติดต่อเจ้าหน้าที่ เบอร์โทรศัพท์ 087 0718100 ได้ทุกวัน
หัวข้ออบรมสัมมนา
ภาคเช้า : สรุปประเด็นสำคัญของกฎหมายใหม่

1.Update กฎหมายแรงงาน ใหม่ มีเรื่องอะไรบ้าง?

2.เดิมกำหนดเกษียณไว้ 55 ปี ต้องเปลี่ยนตามกฎหมายใหม่หรือไม่ ? 

3.ถ้าไม่กำหนดไว้ จะกำหนดใหม่ น้อยกว่า 60 ปี ได้หรือไม่ ? 

4.ถ้าไม่อยากกำหนดไว้เหมือนเดิม จะทำอย่างไรจึงไม่ผิดกฎหมาย ? 

5.ลูกจ้างที่แจ้งขอเกษียณเอง แจ้งแล้วหยุดเลย…ได้หรือไม่ ? ( แจกตัวอย่างคำขอเกษียณ ) 

6.ลูกจ้างอายุ 65 ปีแล้ว แต่ยังไม่ขอเกษียณมา ต่อมาถูกรถชนตาย ต้องจ่ายค่าเกษียณให้หรือไม่ ? 

7.อายุ 59 ปี 10 เดือน มีสิทธิขอเกษียณหรือไม่ ? 

8.วันแจ้งขอเกษียณ จะแจ้งวันไหนก็ได้ใน 365 วัน ใช่หรือไม่ ? 

9.ลูกจ้างขอเกษียณมา นายจ้าง หรือ หัวหน้าไม่อนุมัติได้หรือไม่ ? 

10.เมื่อแจ้งแล้ว นายจ้างขอให้ช่วยทำต่อไปอีกระยะหนึ่ง แต่ลูกจ้างไม่ยอม จะบังคับได้หรือไม่ ? 

11.ลูกจ้างที่ทำงานไม่คุ้มค่า แต่ไม่ขอเกษียณมา จะให้เกษียณได้หรือไม่ ? 

12.การจ้างงานต่อหลังเกษียณ ทำอย่างไรจึงจะดีต่อนายจ้าง ลูกจ้าง ? 

13.การเตรียมการก่อนวันเกษียณที่ดีต้องจัดการอย่างไร ? 

14.การเตรียมคนแทน คนที่จะเกษียณจะทำอะไรบ้าง ? 

15.วันทำงานวันสุดท้ายของคนเกษียณ ต้องเป็นวันไหน มี 6 วิธีให้เลือกจะเอาไหม ? 

16.การทำข้อบังคับการทำงาน…การแก้ไขข้อบังคับใหม่ ทำอย่างไรจึงจะใช้ได้ ? 

17.มีลากิจอยู่แล้ว 6 วัน กม.ใหม่ให้ 3 วัน ต้องเพิ่มอีกไหม หรือ ต้องเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง ? 

18.ลากิจธุระอันจำเป็นที่ควรได้ค่าจ้าง..ไม่ควรได้ จัดการอย่างไรดี ? ( แจกตัวอย่างแนวปฏิบัติ) 

19.ลาตรวจครรภ์ได้ค่าจ้าง ควรกำหนดแนวปฏิบัติอย่างไร ? ( แจกตัวอย่างแนวปฏิบัติ) 

20.ตั้งท้อง 8 เดือนแล้ว ท้องโต ไม่อยากมาทำงาน จะใช้สิทธิลานี้ได้หรือไม่ ? จะทำอย่างไร ? 

21.ค่าชดเชย 20 ปี ขึ้นไป จะมีแนวปฏิบัติอย่างไร ? ( แจกตัวอย่างแนวปฏิบัติ) 

22.กรณีเปลี่ยนตัวนายจ้าง ถ้าลูกจ้างไม่ยินยอมไป กม.ใหม่ว่าต้องจ่ายค่าชดเชย ถ้าไม่อยากจ่ายจะทำอย่างไร ? 

23.ค่าตอบแทน ในกฎหมายใหม่ คืออะไร ? ต้องนำไปรวมจ่ายค่าชดเชยไหม ? 

24.ความผิดของนายจ้างที่จ้างแรงงานต่างด้าว ที่มาตรา 44 ไม่ยกเว้นมีเรื่องอะไรบ้าง ? ( จับปรับเป็นแสนทันที ) 

25.กยศ. ถ้านายจ้างไม่หักเงินส่งสรรพากร จะโดนไม่ใช่น้อยตรงไหน ? 

ภาคบ่าย : อบรมตัวอย่างการเขียนเงื่อนไขสวัสดิการไม่ให้เป็นค่าจ้าง ไม่ต้องนำไปรวมค่าชดเชย ไม่ต้องส่งสมทบประกันสังคม

 ( สำคัญมาก )

1.“ สวัสดิการอย่างน้อย 15 ค่า ” ที่ศาลตัดสินว่าเป็น “ ค่าจ้าง ” ต้องนำมารวมคำนวณค่าชดเชยเมื่อเลิกจ้าง / นำไปจ่ายเพิ่มเมื่อเกษียณ มีค่าอะไรบ้าง ? ( นายจ้างแพ้คดี 100 % ฝ่ายบุคคลตกงานทันที….ระวังจะโดนไม่ใช่น้อย )

2.เงินที่ประกันสังคม เร่งรัด ให้นำส่งประกันสังคมด้วย มีค่าอะไรบ้าง ? 

3.ถ้าส่งเงินสมทบไม่ครบ นายจ้างโดนปรับย้อนหลังเป็นแสน ฝ่ายบุคคลตกงานมานักต่อนักแล้วตรงไหน ? 

4.วิธีการเขียนเงื่อนไขสวัสดิการไม่ให้เป็นค่าจ้าง ไม่ต้องนำไปรวมค่าชดเชย ไม่ต้องนำไปรวมสมทบประกันสังคม จะเขียนอย่างไร ? 

ถาม – ตอบ ทุกปัญหาจากผู้เข้าสัมมนา

วันพุธที่ 9 พฤษภาคม 2561
ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
คำค้นประกาศนี้ Tags: กฎหมายแรงงานใหม่, อบรมกฎหมายแรงงานใหม่, หลักสุตรกฎหมายแรงงานใหม่, กฎหมายประกันสังคม, เรียนกฎหมายแรงงานใหม่, อ.สิทธิศักดิ์ ศรีธรรมวัฒนา

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด