อบรมหลักสูตรออนไลน์ การจัดซื้ออะไหล่เพื่อการซ่อมบำรุงเครื่องจักร (Purchasing spare parts in maintenance)
รหัสหลักสูตร: 66005
1
วันจันทร์ที่ 21 ตุลาคม 2567
เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรมแรมแบรนดท์กรุงเทพ (Rembrandt Hotel Bangkok)
2
วันพุธที่ 4 ธันวาคม 2567
เวลา 09:00 - 16:00 น.
โรงแรมแรมแบรนดท์กรุงเทพ (Rembrandt Hotel Bangkok)
หากท่านต้องการโบร์ชัวร์หลักสูตรเพื่อนำเสนอ สามารถดาวน์โหลดไฟล์ PDF ได้ทันที Course Outline
หลักสูตรนี้สามารถจัดแบบ In-House Training (สอนเฉพาะองค์กรของคุณ) ได้ทั้งแบบ Onsite และ Online ขอใบเสนอราคา In-house Training
- ส่งเสริมประสิทธิภาพการใช้งานและความน่าเชื่อถือ (Efficiency and Reliability) ของเครื่องจักรอุปกรณ์ผ่านกระบวนการ จัดซื้อ จัดจ้าง และจัดเก็บ ที่มีประสิทธิภาพ
- สร้างความมั่นใจให้กับงาน Breakdown Maintenance และงาน Preventive Maintenance ว่าเมื่อใดก็ ตามที่ต้องการใช้อะไหล่เพื่อการซ่อม หรือเพื่อการบำรุงรักษา ต้องหาได้ในทันทีหรือใช้เวลา น้อยที่สุด
- ลดจำนวนอะไหล่คงคลังหรือ Spare Parts Inventory ให้เหลือน้อยที่สุด เพื่อลดต้นทุนจม เพื่อลดต้นทุนการจัดเก็บ และเพื่อลดพื้นที่ในการจัดเก็บ
วัตถุประสงค์
1. ส่งเสริมประสิทธิภาพการใช้งานและความน่าเชื่อถือ (Efficiency and Reliability) ของเครื่องจักรอุปกรณ์ ผ่านกระบวนการ จัดซื้อ จัดจ้าง และจัดเก็บ ที่มีประสิทธิภาพ
2. สร้างความมั่นใจให้กับงาน Breakdown Maintenance และงาน Preventive Maintenance ว่าเมื่อใดก็ตามที่ต้องการใช้อะไหล่เพื่อการซ่อม หรือเพื่อการบำรุงรักษา ต้องหาได้ในทันทีหรือใช้เวลาน้อยที่สุด
3. ลดจำนวนอะไหล่คงคลังหรือ Spare Parts Inventory ให้เหลือน้อยที่สุด เพื่อลดต้นทุนจม เพื่อลดต้นทุนการจัดเก็บ และเพื่อลดพื้นที่ในการจัดเก็บ
1. การควบคุมอะไหล่คืออะไร (Spare Parts Control) และเป้าหมายของการควบคุมอะไหล่
2. ขั้นตอนการจัดซื้ออะไหล่เพื่อการซ่อมบำรุงเครื่องจักรอย่างมีประสิทธิภาพ
3. ปัจจัยที่สำคัญที่ต้องคำนึงถึงในการจัดซื้ออะไหล่เพื่อการซ่อมบำรุงเครื่องจักร
4. ประเภทของการซ่อมบำรุงรักษา
5. การบำรุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม (Total Productive Maintenance)
6. ความหมายของค่า OEE และ Loss time ของเครื่องจักร
7. การจำแนกประเภทของวัสดุหรืออุปกรณ์ในการบำรุงรักษา
8. วิธีการสั่งซื้ออะไหล่
9. การจำแนกประเภทของวัสดุหรืออุปกรณ์ในการบำรุงรักษา
10. ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงในการกำหนดค่า Stock levels
11. การควบคุมสินค้าคงคลังและการแบ่งกลุ่มสินค้าแบบ ABC (ABC Analysis)
12. การกำหนดปริมาณสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด (Economic Order Quantity) หรือ EOQ
13. Safety Stock ปริมาณสินค้าคงคลังเพื่อความปลอดภัย
14. ตารางและแผนการผลิตหลัก (Master Planning Schedule: MPS)
15. การวางแผนความต้องการวัตถุดิบ MRP (Material Resource Planning)
16. เกณฑ์การประเมินความเสี่ยงหรือการคัดเลือกคุณภาพของ Supplier
17. กลยุทธ์การมีข้อตกลงในระยะยาวสำหรับงานจัดซื้อและจัดหา
18. วิธีการควบคุมปริมาณสินค้าคงคลังให้ลดลงอย่างเหมาะสม
อนันต์ ดีโรจนวงศ์
อบรมสำหรับองค์กร (โลจิสติกส์, ระบบมาตรฐานและคุณภาพ, คลังสินค้า, อบรมจัดซื้อ)
การจัดการด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชน (Logistics & Supply Chain Management), Warehouse Management, การจัดการด้านขนส่ง, การบริหารจัดการคลังสินค้าและควบคุมสินค้าคงคลัง
- กลุ่มหลัก ผู้จัดการโรงงาน/ ผู้บริหารระดับกลาง หรือเจ้าหน้าที่ระดับบริหาร ฝ่ายซ่อมบำรุง ฝ่ายผลิต ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายคลังสินค้า วิศวกร
โรงแรมแรมแบรนดท์กรุงเทพ (Rembrandt Hotel Bangkok)
ห้อง null
เขตคลองเตย | กรุงเทพมหานคร