การวางแผนดำเนินธุรกิจด้วยกลุยุทธโลจิสติกส์ซัพพลายเชน การวางแผนอุปสงค์และอุปทานแบบบูรณาการ ,การวิเคราะห์ การวางแผน การจัดการและการควบคุมสินค้าคงคลัง

รหัสหลักสูตร: 38633

จำนวนคนดู 2810 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
  • เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ ในกลยุทธการบริหารจัดการโลจิสติกส์ ซัพพลายเชน (LSCM) ซึ่งเป็นการสนับสนุนยุทธศาสตร์และและการดำเนินธุรกิจของบริษัทในองค์รวม  
  • เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมได้เข้าใจกระบวนการและโครงข่ายระบบโลจิสติกส์ซัพพลายเชนขององค์กรและเข้าใจถึงบทบาท หน้าที่และความสำคัญแต่ละหน่วยงานในโครงข่าย 
  • เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมทำความเข้าใจและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้โดยการฝึกทำ Workshop ต่าง ๆ 
  •  เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำเอาเทคนิคต่าง ๆ การวางแผนและการจัดการอุปสงค์และอุปทาน (Demand Supply Planning & Management) ไปประยุกต์ใช้ในการทำงานได้ 
  • เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้เห็นถึงความสำคัญของการสื่อสารและการประสานงานกันในโครงข่าย โดยมีเป้าหมายร่วมกันในการมุ่งเน้นการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า และมีต้นทุนการดำเนินงานในภาพรวมที่เหมาะสม  


หัวข้ออบรมสัมมนา

  • กลยุทธการจัดการ Logistics Supply Chain ให้สอดคล้องกับการวางแผนธุรกิจ (Business Value Chain) 
  • กระบวนการและกิจกรรมหลักในการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน (Logistics Supply Chain Process/Activities) 
  • นโยบายการให้บริการลูกค้า (Customer Services Management-CSM) 
  • เป้าหมายการให้การบริการลูกค้า (Customer Services Targets - 6 Rights) 
  • เทคนิคการจัดกลุ่มลูกค้าเพื่อกำหนดระดับการให้บริการ เช่น ABC (Customer Classification Technic) 
  • การสำรวจความพึงพอใจของลูกค้าและวิเคราะห์จากคู่เทียบ (Customer Satisfaction Survey & Benchmark) 
  • กระบวนวางแผนโลจิสติกส์และการจัดการส่งมอบสินค้า (Distribution Management- DM) 
  • กระบวนการ(Logistics Process: Order to Delivery Process) 
  • Best Practices - Supply Chain Operation Reference (SCOR) 
  • นโยบายบริหารความพร้อมของ Stock การวางแผนและจัดการวัสดุคงคลัง (Inventory Planning & Management - IPM) 

หน้าที่ ประเภทของวัสดุคงคลังในกระบวนการโลจิสติกส์ Inventory Stock in LSCM

  • เทคนิคการจัดการวัสดุ Lead Time VS Decoupling Point, Postponement & Mass Customization 
  • เทคนิคการจัดการคุณภาพวัสดุแบบ FIFO, FEFO, FMFO, Batch/Lot Control 
  • เทคนิคการวิเคราะห์การจัดกลุ่ม Stock เพื่อการควบคุม &การจัดการคลังสินค้า เช่น ABC Analysis 

Work Shop (1) การจัดกลุ่มสินค้าประเภทต่าง ๆ เทคนิคการนับ Stock ในรูปแบบต่างๆ & การทำ Cycle Count

Work Shop (2) การวางแผนการนับ Stock แบบ Cycle Count 

  • การปรับปรุงระบบวางแผนอุปสงค์อุปุทาน แบบบูรณาการ Demand & Supply Integrated Planning)  
  • การวางแผนและการพยากรณ์ความต้องการวัสดุใน Demand/Supply Network (Demand Planning & Forecasting) 
  • มิติด้านเวลา: ความต้องการของสินค้า ณ เวลาใด?  
  • มิติด้านสินค้า: ความต้องการของสินค้าตัวใด?  
  • มิติด้านสถานที่: ความต้องการของสินค้า ณ จุดใด?  
  • การวางแผนวงจรชีวิตสินค้า (Product Life Cycle Planning) 
  • การวางแผนและจัดการวัสดุคงคลังและการสั่งซื้อสั่งเติม Stock (Inventory Planning & Management - IPM) ต่อ 
  • ประเภทของ Stock ในการวางแผนวัสดุคงคลังและการเติมเต็ม: Cycle Stock & Safety Stock 
  • เทคนิคการทบทวนคำสั่งเติม/ซื้อวัสดุ (Stock Replenishment/Purchase Order Review Method)  
  • การวางแผนการเติม Stock ณ จุดสั่งใหม่ Reorder Point-ROP)  
  • การวางแผนการเติม Stock ณ ช่วงเวลาที่กําหนด (Periodic Review: Fixed Order Interval-FOI)  
  • การวางแผนการเติม Stock แบบ Kanban (Visual Review: Kanban Technic-Two/Three Bins System) 
  • การวางแผนความต้องการวัสดุ (Material Requirement Planning-MRP)  
  • การวางแผน Safety Stock และการคำนวณ  Safety Stock Factor, Safety Stock Calculation,Inventory ManagementTerms: Lead Time, EPQ, MOQ, MSQ 
  • นวัตกรรมการพัฒนาระบบการจัดการ Demand & Supply Planning แบบบูรณาการ ตัวอย่างกรณีศึกษา 
  • การสร้างความเชื่อมโยงในโครงข่ายทั้งภายในและภายนอกองค์กร (Logistics Supply Chain Collaboration) 
  • การจัดตั้งกระบวนการวางแผนและดำเนินงานร่วมกัน Sales & Operation Planning (S&OP) 
  • การพัฒนามาตรฐาน (Standardization) ร่วมกัน 
  • มาตรฐานหน่วยจัดเก็บ หน่วยขนส่ง (Standard Unitization) 
  • มาตรฐาน Item Master & Message Standard 
  • การประยุกต์ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information & communication Technology): Barcode, RFID, EDI, ERP, WMS,  
  • การพัฒนาระบบการกระจายสินค้า: Cross Docking, Drop Ship, Milk Run, Backhauling, Joint Distribution 
  • การพัฒนาความร่วมมือกับคู่ค้า (Strategic Alliance) : เทคนิคการวางแผนร่วมกันระหว่างคู่ค้า Just In Time (JIT),  Efficient Consumer Response (ERC) Auto Replenishment (ARP) Joint Management Inventory: Collaborative Planning, Forecasting & Replenishment (CPFR) Vendor Managed Inventory (VMI) 



วันพฤหัสที่ 25 พฤษภาคม 2560

เวลา 9.00 – 16.00 น.



ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
คำค้นประกาศนี้ Tags: อบรมโลจิสติกส์, สัมนาโลจิสติกส์, อบรมโลจิสติกส์ซัพพลายเชน, สัมนาโลจิสติกส์ซัพพลายเชน, อบรมซัพพลายเชน, สัมนาซัพพลายเชน

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด