กฎหมายแรงงานและประกันสังคมที่ HR และเจ้าของกิจการควรรู้ !!

รหัสหลักสูตร: 63542

จำนวนคนดู 1475 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
1 วัน ได้ 2 เรื่องสำคัญ!! กฎหมายแรงงานและประกันสังคมที่ HR และเจ้าของกิจการควรรู้ !!
หัวข้ออบรมสัมมนา

ช่วงเช้า

1. กฎหมายใหม่ประกันสังคม สิ่งที่นายจ้างและ HR ต้องรู้ ก่อนทำผิด!!      

2. วิธีขึ้นทะเบียนประกันสังคมและตรวจสอบข้อมูลของผู้ประกันตนออนไลน์     

3. การใช้สิทธิประโยชน์ของผู้ประกันตน มาตรา 33 ทั้ง 7 กรณี          

    - กรณีเจ็บป่วย      - กรณีคลอดบุตร      - กรณีสงเคราะห์บุตร     - กรณีทุพพลภาพ   

    - กรณีตาย           - กรณีชราภาพ         - กรณีว่างงาน

4. การส่งเงินสบทบประกันสังคมทั้งในฐานะนายจ้างและลูกจ้าง : อัตราการเรียกเก็บและช่องทางการจ่าย

5. เมื่อผู้ประกันตนมาตรา 33 สิ้นสุดการเป็นลูกจ้างไม่ว่ากรณีใดๆ ผู้ประกันตนจะได้สิทธิประโยชน์อะไรบ้าง ต้องดำเนินการอย่างไร ภายในระยะเวลาเท่าไร

6. ถ้าลูกจ้างพ้นสภาพการเป็นพนักงานแล้ว และไม่ได้สมัคร มาตรา 39 ต้องทำอย่างไร?

7. สิทธิประโยชน์ของผู้ประกันตน มาตรา 39 

8. ประกันสังคมไม่คุ้มครองโรคอะไรบ้าง?     

9. ขั้นตอนในการส่งตัวลูกจ้างเข้ารับการรักษาพยาบาล

10. สิทธิการได้รับเงินทดแทน เมื่อผู้ประกันตนสิ้นสภาพการเป็นลูกจ้างแล้ว

11. สิทธิประโยชน์เงินทดแทนใหม่ที่ HR ต้องทราบ!!


ช่วงบ่าย

1. หักค่าจ้างลูกจ้างผิดไหม? วิธีการจ่ายค่าจ้างที่ถูกต้องตามกฎหมายกรณีลูกจ้างมาสาย หรือ ขาดงาน  

2. หลักเกณฑ์การจ่ายค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด ค่าล่วงเวลาในวันหยุด 

3. นายจ้างเขียนระเบียบว่า “ไม่จ่ายค่าล่วงเวลา” ได้หรือไม่?     

4. การจัดวันหยุดตามประเพณี วันหยุดพักผ่อนประจำปี วันหยุดประจำสัปดาห์  

5. หลักเกณฑ์การจ่ายค่าจ้างในวันลาประเภทต่างๆ ที่ไม่ผิดกฎหมาย   

6. การสิ้นสภาพการเป็นลูกจ้างในกรณีต่างๆ และวิธีดำเนินการให้ถูกต้องตามกฎหมาย 

7. การออกหนังสือเตือน

    - รายละเอียดที่ต้องระบุในหนังสือเตือน

    - วิธีแจ้งคำเตือนให้ลูกจ้างทราบ

    - หนังสือเตือนต้องเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่?      

    - ใครเป็นผู้ลงนามในหนังสือเตือน 

    - ถ้าลูกจ้างไม่ลงนามในหนังสือเตือนๆ ฉบับนั้นใช้ได้ตาม กฎหมายหรือไม่? 

8.  เมื่อหัวหน้างานเตือนลูกน้องด้วยวาจา จำเป็นต้องเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่? “เขียน” กับ “ไม่เขียน” ต่างกันอย่างไร? 

9. จ่ายค่าชดเชย ค่าจ้างแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าอย่างไรให้ถูกต้องตามกฎหมาย 

10. วิธีปฎิบัติที่ถูกต้อง เมื่อต้องหยุดกิจการชั่วคราวตามมาตรา 75



ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
คำค้นประกาศนี้ Tags: ประกันสังคม, กฎหมาย, หฎหมายแรงงาน, หนังสือเตือน, การจ้างงาน