การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การกู้ชีพ และการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ (Basic First Aid – CPR and AED)
รหัสหลักสูตร: 65803
-
ยังไม่มีรอบจัดในขณะนี้
ท่านสามารถลงทะเบียนล่วงหน้าเพื่อรับการแจ้งเตือนเมื่อมีรอบใหม่
ดังนั้น หลักสูตร “ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การกู้ชีพ และการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ ” จึงเป็น หลักสูตรที่จะสามารถทําให้ผู้เข้าอบรมเกิดความรู้ความเข้าใจในหลักการและวิธีการในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างถูกวิธีและการใช้เครื่องมือ AED เพื่อกู้ชีพอีกด้วย ทั้งนี้ เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตและลดค่าใช้จ่ายทางด้านค่ารักษาพยาบาลภายในองค์กรอีกด้วย
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
1. เพื่อให้บุคลากรมีทักษะในการช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวในเบื้องต้น ได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล
2. เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพในด้านกากู้ชีพในเบื้องต้นด้วยวิธี CPR แบบมาตรฐานสากล
3. เรียนรู้วิธีการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ AED ในเบื้องต้นได้
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
หลังผ่านการอบรมหลักสูตรนี้แล้ว ผู้เข้าอบรมควรจะมีความรู้ความเข้าใจในหัวข้อได้ดังนี้
1. เข้าใจหลักการและสามารถลงมือปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้
2. สามารถปฎิบัติการกู้ชีพ หรือ CPR ได้ ก่อนนําส่งโรงพยาบาล
3. สามารถใช้งานเครื่องกระตุกไฟฟ้า AED ได้แบบเบื้องต้น
1. หลักการปฐมพยาบาลเบื้องต้น (First Aid Principle)
o การประเมินสถานการณ์สิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย (Scene Sizeup and Scene Safety)
o การขอความช่วยเหลือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (Additional Resources)
o การประเมินกลไกการบาดเจ็บ (Machanism of Injury)
o การใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองสําหรับการปฐมพยาบาล (Personal Protection Equipment: PPE)
o การประเมินระบบสําคัญของการมีชีวิต (Survival System Assessment)
o การตรวจประเมินสภาพความเจ็บป่วยเบื้องต้น (Primary Assessment)
o ฝึกปฏิบัติแบบจําลองสถานการณ์ (Simulation Practice)
2. ภาวะการเจ็บป่วยฉุกเฉิน จากสาเหตุทั่วไป (Medical Emergency Illness)
o ภาวะเป่นลม และการปฐมพยาบาล (Fainting First Aid)
o ภาวะหมดสติ และการปฐมพยาบาล (Unconscious First Aid)
o โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน และการปฐมพยาบาล (Coronary Artery Syndrome First Aid)
o โรคหลอดเลือดสมอง และการปฐมพยาบาล (Stroke First Aid)
o ภาวะฉุกเฉินในผู้ป่วยเบาหวาน (Diabetes Emergency First Aid)
o ผู้ป่วยชัก และการปฐมพยาบาล (Seizures First Aid)
o อาการคลื่นไส้ อาเจียน และการปฐมพยาบาล (Nausea and Vomiting First Aid)
o อาการถ่ายเหลวเฉียบพลัน และการปฐมพยาบาล (Acute Diarrhea First Aid)
o เลือดกําเดา และการปฐมพยาบาล (Epistaxis First aid)
o ภาวะแพ้รุนแรง และการปฐมพยาบาล (Anaphylaxis First Aid)
o แมลง สัตว์กัด ต่อย และการปฐมพยาบาล (Insect Bites First Aid)
3. บาดแผล การตกเลือด และการปฐมพยาบาล (Wound and Bleeding First Aid)
o กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของผิวหนัง (Anatomy and Physiology of Skin)
o ประเภทของบาดแผล (Wound Types)
o แผลถลอก (Abrasion Wound)
o แผลตัดเฉือน (Cut Wound)
o แผลฉีกขาด (Lacerated Wound)
o แผลมีวัตถุปักคา (Impaled Object Wound)
o แผลทะลุที่หน้าอก (Puncture Chest Wound)
o แผลอวัยวะถุกตัดขาด (Ambutated Wound)
o แผลอวัยวะโผล่หน้าท้อง (Evisceration Wound)
o แผลจากความร้อน (Heat Burn)
o แผลจากสารเคมี (Chemical Burn)
o แผลจากไฟฟ้าช็อท (Electric Burn)
4. การบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ ข้อต่อ กระดูกหัก และการปฐมพยาบาล (Muscle, Joint and Bone Injyries)
o กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของกล้ามเนื้อ (Anatomy and Physiology of Muscle)
o หลักการประเมินความรุนแรงการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ (Muscle Injuries Assessment)
o การปฐมพยาบาลกล้ามเฟนื้อบาดเจ็บ (Muscle Injuries First Aid)
o กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของข้อต่อ (Anatomy and Physiology of Joint)
o หลักการประเมินความรุนแรงการบาดเจ็บของข้อต่อ (Joint Injuries Assessment)
o การปฐมพยาบาลข้อต่อบาดเจ็บ (Joint Injuries First Aid)
o กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของกระดูก (Anatomy and Physiology of Bone)
o หลักการประเมินประเภท และความรุนแรงของกระดูกหัก (Broken Bone Assessment)
o กระดูกหักประเภทต่างๆ และการปฐมพยาบาล (Broken Bone First Aid)
5. การบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ ข้อต่อ กระดูกหัก และการปฐมพยาบาล (Muscle, Joint and Bone Injyries)
o กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของกล้ามเนื้อ (Anatomy and Physiology of Muscle)
o หลักการประเมินความรุนแรงการบาดเจ็บของกล้ามเนื้อ (Muscle Injuries Assessment)
o การปฐมพยาบาลกล้ามเฟนื้อบาดเจ็บ (Muscle Injuries First Aid)
o กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของข้อต่อ (Anatomy and Physiology of Joint)
o หลักการประเมินความรุนแรงการบาดเจ็บของข้อต่อ (Joint Injuries Assessment)
o การปฐมพยาบาลข้อต่อบาดเจ็บ (Joint Injuries First Aid)
o กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของกระดูก (Anatomy and Physiology of Bone)
o หลักการประเมินประเภท และความรุนแรงของกระดูกหัก (Broken Bone Assessment)
o กระดูกหักประเภทต่างๆ และการปฐมพยาบาล (Broken Bone First Aid)
6. การยกและการเคลื่อนย้ายผู้เจ็บป่วย (Victim Lifting and Moving)
o การยกและเคลื่อนย้ายผู้เจ็บป่วยอย่างปลอดภัย (Safty Lifting and Moving)
o การเคลื่อนย้ายแบบฉุกเฉิน (Emergency Moving)
o การเคลื่อนย้ายแบบปกติด้วยมือเปล่า การเคลื่อนย้ายดัวยอุปกรณ์ประยุกต์ และการเคลื่อนย้ายด้วยอุปกรณ์สําเร็จรูป
7. การฝึกปฏิบัติแบบจําลองสถานการณ์ (Flor Simulation)
o ฝีกปฏิบัติการห้ามเลือดด้วยผ้าห้ามเลือด (Top Dressing)
o การพันผ้ายืดห้ามเลือด (Elastic Bandage)
o ฝึกปฏิบัติการเข้าเฝือกชั่วคราว (Splinting) ตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย
o ฝึกปฏิบัติการยกและเคลื่อนย้ายด้วยมือเปล่า
o ฝึกปฏิบัติการยกและเคลื่อนย้ายด้วยอุปกรณ์ประยุกต์
8. การกู้ชีพขั้นพื้นฐาน (Cardio Pulmonary Resuscitaiton: CPR)
o กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของระบบทางเดินหายใจ (Respiratory System)
o กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาของระบบไหลเวียนโลหิต (Circulatory System)
o ระดับของการทํา CPR (Levels of CPR)
o คุณภาพของการทํา CPR (High Quality of CPR)
o ฝึกปฏิบัติการทํา CPR แบบ 1 คน และแบบ 2 คน (One and Two Practical Rescue CPR)
o สอบปฏิบัติการทํา CPR แบบ 1 คน และแบบ 2 คน (One and Two Rescue CPR Test)
9. การใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ (Automated External Defibrillator)
o ประโยชน์ และการทํางานของเครื่อง AED
o ฝึกการใช้เครื่อง AED และสอบปฏิบัติการใช้เครื่อง AED
สัมมนานี้ได้รับประกาศนียบัตร
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท: | SeminarDD Academy |
ชื่อผู้ประสานงาน: | ผู้จัดงาน |
เบอร์โทรศัพท์ : | 097-474-6644 |
หากท่านต้องการสมัคร การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การกู้ชีพ และการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ (Basic First Aid – CPR and AED)
กรุณากดปุ่ม 'สมัครเข้าฟัง' ด้านล่างนี้
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
หลักสูตรนี้สามารถจัดแบบ In-House Training (สอนเฉพาะองค์กรของคุณ) ได้ทั้งแบบ Onsite และ Online ขอใบเสนอราคา In-house Training