หลักสูตร การบำรุงรักษาเครื่องจักรด้วยตนเอง (AM) เพื่อการทำ TPM ที่สมบูรณ์ ( AUTONOMOUS MAINTENANCE for efficiency improvement )
รหัสหลักสูตร: 66985
-
ยังไม่มีรอบจัดในขณะนี้
ท่านสามารถลงทะเบียนล่วงหน้าเพื่อรับการแจ้งเตือนเมื่อมีรอบใหม่
หลักการและเหตุผล
การบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม (TPM) เป็นระบบการบารุงรักษาที่ต้องการให้ทุกคนในองค์กรมีส่วนร่วม ช่วยเหลือ ผลักดัน ให้เกิดประสิทธิภาพการผลิตที่สูงที่สุด โดยที่คุณลักษณะอย่างหนึ่งของ TPM คือการที่ฝ่ายผลิตและบุคลากรของฝ่ายผลิตสามารถปกป้องและดูแลรักษาเครื่องจักรของตนเองได้ หรือที่เรียกว่า AUTONOMOUS MAINTENANCE หรือการบารุงรักษาด้วยตนเองซึ่งเป็นเสาหลักที่สาคัญอย่างยิ่งในการดาเนินการ TPM
หลักสูตร นี้จะเน้นที่การทาความเข้าใจกับแนวคิดและความสาคัญของ TPM และบทบาทหน้าที่ของฝ่ายผลิตในการบริหารจัดการให้บรรลุเป้าหมายทั้งทางด้าน การผลิตและทางด้านการบารุงรักษาเครื่องจักร ตามแนวคิดการบารุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม ซึ่งหนึ่ง ในเสาหลักที่สาคัญคือ การดูแลรักษาด้วยตนเอง AUTONOMOUS MAINTENANCE (JISHU HOZEN) มีแนวคิดการดาเนินการ 7 ขั้นตอนเพื่อทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ทาให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในองค์กร
โดยการที่พนักงานประจาเครื่องมีสามารถในการดูแลรักษาเครื่องจักรด้วยตนเองได้ตั้งแต่การทาความสะอาดเพื่อค้นหาข้อบกพร่อง การสามารถปรับปรุงแก้ไข เบื้องต้นแบบง่ายๆได้เอง การกาหนดวิธีการทาความสะอาด หล่อลื่น ตรวจสอบเครื่องจักร เบื้องต้นได้จะมีส่วนช่วยให้กระบวนการผลิตมีความสูญเสียต่างๆ ที่ลดลง สามารถผลิตสินค้าที่มีคุณภาพดี ต้นทุนต่าและส่งมอบได้ตรงเวลาโดยหลักสูตรนี้พนักงานจะได้ศึกษาและปฏิบัติการดูแลรักษาเครื่องจักรด้วยตนเอง ตั้งแต่การทาความสะอาดเพื่อค้นหาข้อบกพร่อง , การปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้กลับสู่สภาพเดิม, การสร้างแนวทางการดูแลเครื่องจักรมีการทาความสะอาด หล่อลื่น ตรวจสอบ ซึ่งกุญแจสาคัญ คือ“การทาความสะอาด คือ การตรวจสอบ”และ “ค้นหาจุดบกพร่องทั้งที่มองเห็นและมองไม่เห็น” เป็นต้น ซึ่งนับว่าเป็นแนวทางการพัฒนาความสามารถบุคลากรและสร้างความเชื่อมั่นในการ ทางานของเครื่องจักร เป็นไปตามนโยบายและเป้าหมายของบริษัท นอกจากนี้ยังเป็นการส่งเสริมการเพิ่มผลิตภาพ (Productivity) และสร้างผลกาไรให้แก่บริษัทอีกด้วย
วัตถุประสงค์
1. เพื่อสร้างความเข้าใจต่อต้นทุนการผลิต และสร้างผลกาไรให้กับบริษัท
2. เพื่อสร้างแนวคิดในการดาเนินกิจกรรม TPM อย่างเป็นระบบ
3. เพื่อสร้างแนวทางในการบารุงรักษาด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ
4. เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาหน่วยงาน และบริษัทอย่างต่อเนื่อง
5. เพื่อสร้างการทางานเป็นทีม การยอมรับในความเห็นที่แตกต่าง เกิดความสามัคคี
6. เพื่อสร้างแรงจูงใจในการทางานให้กับผู้เข้ารับการอบรม
1. องค์ประกอบของธุรกิจ ต้นทุน กาไร และรายได้
2. บทบาทและความรับผิดชอบของพนักงานฝ่ายผลิตในสายงานซ่อมบารุง
3. การบารุงรักษาแบบ TPM คืออะไรและความจาเป็นในการทากิจกรรม TPM
4. หลักการบารุงรักษาด้วยตนเองที่นาไปประยุกต์ใช้งาน
5. แนวทางการปฏิบัติการบารุงรักษาด้วยตนเอง
6. แนวทางปฏิบัติ 7 ขั้นตอนของการบารุงรักษาด้วยตนเอง
- การทาความสะอาดขึ้นพื้นฐาน
- กาจัดแหล่งกาเนิดความสกปรกและเข้าถึงยาก
- สร้างมาตรฐานการทาความสะอาด
- การตรวจสอบเครื่องจักร
- การตรวจสอบกระบวนการผลิต
- การบารุงรักษาด้วยตนเอง
- การจัดการดูแลด้วยตนเอง
7. หลักการในสัญลักษณ์ภาพ (Visual Control)
8. กรณีศึกษาจากกิจกรรม Seiso – Inspection และกรณีศึกษาจากตัวอย่างจริง
Workshop 1 : การฝึกเขียนลาดับขั้นการทางานและการวิเคราะห์จากงานตัวอย่าง เพื่อปรับปรุงการทางาน
Workshop 2 : การรวมตัวเพื่อสร้างกิจกรรมการบารุงรักษาด้วยตนเอง แบ่งผู้เข้าสัมมนาออกเป็น 5 กลุ่มย่อย นาเครื่องจักรที่ใช้ในการปฏิบัติงานจริงในโรงงานมาทากรณีศึกษา และนาเสนอผลงานแต่ละกลุ่มอภิปรายแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนประสบการณ์
9. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ถามตอบ
10. กิจกรรมละลายพฤติกรรม สร้างสมาธิและการยอมรับซึ่งกันและกัน
- การสร้างมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีในการทางานร่วมกัน
11.พื้นฐานของการทากิจกรรม TPM และความสาคัญของการบารุงรักษาด้วยตนเอง AM (AUTONOMOUS MAINTENANCE)
- องค์ประกอบของธุรกิจ ต้นทุน กาไร และรายได้
- บทบาทและความรับผิดชอบของพนักงานฝ่ายผลิตในสายงานซ่อมบารุง
- การบารุงรักษาแบบ TPM คืออะไรและความจาเป็นในการทากิจกรรม TPM
- หลักการบารุงรักษาด้วยตนเองที่นาไปประยุกต์ใช้งาน
12. การบารุงรักษาด้วยตนเอง AM (AUTONOMOUS MAINTENANCE) ช่วงที่ 1
- แนวทางการปฏิบัติการบารุงรักษาด้วยตนเอง
- แนวทางปฏิบัติ 7 ขั้นตอนของการบารุงรักษาด้วยตนเอง
1.การทาความสะอาดขึ้นพื้นฐาน
2.กาจัดแหล่งกาเนิดความสกปรกและเข้าถึงยาก
3.สร้างมาตรฐานการทาความสะอาด
13. การบารุงรักษาด้วยตนเอง AM (AUTONOMOUS MAINTENANCE) ช่วงที่ 2
4.การตรวจสอบเครื่องจักร
5.การตรวจสอบกระบวนการผลิต
6.การบารุงรักษาด้วยตนเอง
7.การจัดการดูแลด้วยตนเอง
- หลักการในสัญลักษณ์ภาพ (Visual Control)
14. การทากิจกรรมกลุ่ม AM - กรณีศึกษาจากกิจกรรม Seiso – Inspection และกรณีศึกษาจากตัวอย่างจริง
- Workshop1 การฝึกเขียนลาดับขั้นการทางานและการวิเคราะห์จากงานตัวอย่าง เพื่อปรับปรุงการทางาน
- Workshop2 การรวมตัวเพื่อสร้างกิจกรรมการบารุงรักษาด้วยตนเอง แบ่งผู้เข้าสัมมนาออกเป็น 5 กลุ่มย่อย นาเครื่องจักรที่ใช้ในการปฏิบัติงานจริงในโรงงานมาทากรณีศึกษา
และนำเสนอผลงานแต่ละกลุ่มอภิปรายแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนประสบการณ์
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้ถามตอบ
รูปแบบการสัมมนา Organization Awareness
1. การบรรยาย 40 %
2. เกมส์/กิจกรรมกลุ่ม /ฝึกปฏิบัติWorkshopและการนา เสนอผลงานกลุ่ม 40 %
3. กรณีศึกษา และดูภาพยนตร์ 20 %
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ผู้เข้าอบรมสามารถเรียนรู้และเข้าใจหลักการทากิจกรรม TPM อย่างถูกต้อง
2. ผู้เข้าอบรมสามารถนาหลักการของการบารุงรักษาด้วยตนเอง ไปประยุกต์ใช้กับงานของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. ผู้เข้าอบรมสามารถเรียนรู้การซ่อมบารุงเครื่องจักรเบื้องต้นด้วยตนเองได้
4. ผู้เข้าอบรมมีจิตสานึกเรื่องคุณภาพและทางานอย่างมีประสิทธิภาพ
5. ผู้เข้าอบรมมีสานึกการรักองค์กรมากขึ้น
สัมมนานี้ได้รับประกาศนียบัตร
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท: | SeminarDD Academy |
ชื่อผู้ประสานงาน: | ผู้จัดงาน |
เบอร์โทรศัพท์ : | 097-474-6644 |
หากท่านต้องการสมัคร การบำรุงรักษาเครื่องจักรด้วยตนเอง (AM) เพื่อการทำ TPM ที่สมบูรณ์ ( AUTONOMOUS MAINTENANCE for efficiency improvement )
กรุณากดปุ่ม 'สมัครเข้าฟัง' ด้านล่างนี้
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ cs@seminardd.com
ไลน์ไอดี @seminardd
หลักสูตรนี้สามารถจัดแบบ In-House Training (สอนเฉพาะองค์กรของคุณ) ได้ทั้งแบบ Onsite และ Online ขอใบเสนอราคา In-house Training