คอร์สสัมมนา “เทคนิคการติดตามหนี้และการบริหารลูกหนี้”

รหัสหลักสูตร: 48174

จำนวนคนดู 758 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd

          การดำเนินธุรกิจในปัจจุบันของผู้ประกอบการส่วนใหญ่โดยกิจกรรมหลักๆ คือ การจัดจำหน่ายสินค้าหรือบริการเพื่อให้ได้ซึ่งยอดขายเพื่อเพิ่มผลกำไรไม่ว่าการขายนั้นจะผ่านตัวแทนหรือการจัดจำหน่ายเองโดยตรงคงหลักหนี้ไม่พ้นในเรื่องของการให้เครดิตกับคู่ค้าโดยทั่วไปจะมีขั้นตอนในการให้เครดิต คือ ซื้อสินค้าไปสักงวดหรือสองงวดเพื่อสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจซึ่งกันและกัน โดยในเวลาต่อมาอาจมีการร้องขอซื้อเป็นเงินเชื่อหรือที่เรียกว่า “การขอเครดิต” นั่นเอง หากซื้อขาย และชำระหนี้สินกันปกติก็คงไม่มีปัญหาแต่อย่างใด แต่วันเวลาผ่านไปลูกหนี้อาจเกิดปัญหาในการผ่อนชำระหนี้สิน ทำให้เกิดการผ่อนชำระล่าช้าบางรายอาจจะไม่ผ่อนชำระหนี้เลย  

 ดังนั้นหากเกิดปัญหาลูกหนี้ผ่อนชำระสินค้าหรือบริการไม่เป็นไปตามข้อกำหนดที่ตกลงกันไว้ จำเป็นที่พนักงานหรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวกับการตามหนี้จะต้องเตรียมตัวและแผนกลยุทธ์เพื่อติดตามและบริหารลูกหนี้อย่างเป็นระบบ เพื่อลดความเสี่ยงของหนี้เสียลง


หัวข้ออบรมสัมมนา
  • การวิเคราะห์หาสาเหตุของหนี้เสีย  
  • การจัดระดับและเก็บข้อมูลลูกหนี้  
  • การวางแผนระบบติดตามหนี้  
  • การเลือกใช้เครื่องมือในการติดตามหนี้  
  • ทบทวนนโยบายการบริหารสินเชื่อสำหรับฝ่ายขายและฝ่ายบัญชี-การเงิน  
  • วิเคราะห์ลูกค้าและความสามารถในการชำระหนี้  
  • วิเคราะห์ลูกหนี้และการประเมินความเสี่ยงกรณีให้เครดิต  
  • จริยธรรมในการทวงหนี้ 
วันพฤหัสบดีที่ 25 มกราคม 2561
ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
คำค้นประกาศนี้ Tags: การติดตามหนี้, การบริหารลูกหนี้

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

หลักสูตร การวางแผนและควบคุมการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ ( Production Planning and C...

เพื่อสามารถจัดระเบียบการไหลของงานในระบบผลิต และติดตามการทำงานนั้นว่าเป็นไปตามแผนที่ได้วางไว้หรือไม่ เพื่อที่จะได้สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้ทันเวลา หรือเป็นการเตรียมและจัดการทรัพยากรและความต้องการตลอดจนทางเลือกต่างๆให้เกิดความพร้อมสำหรับการผลิต