Analytical Thinking skills for Problem Solving การคิดเชิงวิเคราะห์เพื่อการตัดสินใจและแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ

รหัสหลักสูตร: 56712

จำนวนคนดู 1739 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
หลักการและเหตุผล

Harvard business school ได้เขียนไว้ว่า “อันที่จริงแล้วบริษัทไม่ได้แข่งขันเรื่องคุณภาพกับบริษัทคู่แข่ง บริษัทไม่ได้แข่งขันเรื่องการส่งมอบกับบริษัทคู่แข่ง แต่บริษัทกำลังแข่งขันเรื่อง mindset ของพนักงานกับคู่แข่งต่างหาก” ดังนั้น mindset ของพนักงานจึงเป็นตัวกำหนดความสามารถขององค์กร หรืออาจจะเรียกได้ว่า Smart organization = Smart boss + Smart employee

วงจรการเพิ่มประสิทธิภาพที่เปลี่ยนแปลงโลกของ Edward Deming มีมาช้านานคือ P-D-C-A ที่แปลว่า Plan-Do-Check-Act (Analysis) แต่จุดอ่อนในการปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่องที่เป็นจุดวิกฤตที่สุด ที่ไม่สามารถหมุนวงล้อการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องได้ก็คือ Analysis skills ของพนักงาน

หลักสูตร Analytical thinking skills for problem solving หรือทักษะการคิดวิเคราะห์เพื่อการแก้ปัญหาจึงเป็นหลักสูตรที่แก้ไขจุดอ่อน และเพิ่มขีดความสามารถให้กับองค์กรของท่าน ปัญหาที่ว่ายากและซับซ้อนจะถูกแยกส่วนออกมาให้เพื่อวิเคราะห์และจัดการได้.

Course นี้มุ่งเน้นสร้างขีดความสามารถให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา แยกปัญหาออกเป็นส่วนย่อยๆ วิเคราะห์หาสาเหตุรากเหง้าของปัญหา นำไปสู่การปรับปรุงแก้ไข ด้วยเครื่องมือในการวิเคราะห์ปัญหาของระบบ Lean ที่กำลังใช้กันทั่วโลกอย่างแพร่หลาย

Analytical thinking skills for problem solving จะช่วยวิเคราะห์ปัญหาอีกด้วยว่า “ทำไมพนักงานไม่ค่อยคิด” อันมีสาเหตุจาก วัฒนธรรมองค์กร เกิดจาก Leadership และเกิดจาก management behavior การปรับเปลี่ยน mindset และวิธีคิดวิเคราะห์ เพื่อให้กระบวนการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงพัฒนาองค์กรเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ลดต้นทุนการดำเนินงาน เพิ่มขีดความสามารถ เพิ่มกำไร และสามารถจะขยายธุรกิจได้


หัวข้ออบรมสัมมนา
หัวข้องานสัมมนา

3.1. นิยามของ Analytical thinking skills for problem solving

3.2. วิธีการทั่วไปเกี่ยวกับการพัฒนา Analytical thinking

รูปแบบของ Thinking และระดับของ Thinking

การคิดวิเคราะห์และการคิดแบบใช้ดุลยพินิจ

การคิดวิเคราะห์และการคิดแบบใช้วิจารณญาณ

10 ปัญหาสาเหตุที่พนักงานไม่คิดวิเคราะห์

Comfort zone มุมสบายของงพนักงานคืออะไร

การเปลี่ยน Mindset

เล่นปิงปอง โยนปัญหา ซุกซ่อน ปกปิดปัญหา

Iceberg of ignorance ภูเขาน้ำแข็งของความไม่รู้ข้อมูลจริง

ทักษะการคิดแบบต่างๆ

นิสัยการคิด 9 อย่าง

ลักษณะการคิดแบบวิเคราะห์ และ การคิดแบบไม่วิเคราะห์

วงจรความคิดแบบ DIAA (Data-insight-action-assessment)

Element of thought ส่วนย่อยๆของความคิด

กรวยกลั่นความคิด Funnel of innovation

ทฤษฏีคนคิดแบบหมวก 6 สี Six thinking hats

Model การสร้างวิธีคิดแบบใช้วิจารณญาณ

ทักษะการคิดชั้นสูงของ บลูม

          3.3 ทักษะการคิดวิเคราะห์เพื่อการแก้ปัญหา 5 ขั้นตอน

ปัญหา การนิยามปัญหา

การกำหนดสมมติฐาน

การเก็บและรวบรวมข้อมูลของปัญหา

การทำการวิเคราะห์ปัญหา

การสร้างมาตรการแก้ไข-ป้องกัน

          3.4 เทคนิคในการวิเคราะห์ปัญหา

Benchmarking หรือการเทียบระดับตัวชี้วัดกับคู่แข่ง

SWOT analysis การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสพัฒนา และภาวะคุกคาม

Force field analysis แรงผลักดันในการเปลี่ยน และ แรงต่อต้านการเปลี่ยน

Cost benefit analysis การวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย เทียบกับ ประโยชน์ที่ได้รับ

Impact analysis การวิเคราะห์ผลกระทบ

Pareto chart การวิเคราะห์เพื่อหา Top 3 problems

         3.5 Root cause analysis การวิเคราะห์เพื่อหารากเหง้าของปัญหา

Brainstorming การระดมสมอง

หลักการของ Root cause analysis

ผังก้างปลา

5 W + 1 H

Why-Why Analysis

Critical to quality (CTQ) การิเคราะห์ประเด็นที่วิกฤตต่อคุณภพ

Improvement method

1.How-How analysis

2.ECRS (Eliminate-Combine-Rearrange-Simplify)

3.RACI (Responsible person-Accountable-Consulting-Inform)


ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
คำค้นประกาศนี้ Tags: การคิดเชิงวิเคราะห์เพื่อการตัดสินใจและแก้ปัญหาอย่า