TPM การบํารุงรักษาเครื่องจักรเพื่อการเพิ่มผลผลิตที่ทุกคนมีส่วนร่วม (Advance TPM for Productivity improvement)
รหัสหลักสูตร: 65937
-
ยังไม่มีรอบจัดในขณะนี้
ท่านสามารถลงทะเบียนล่วงหน้าเพื่อรับการแจ้งเตือนเมื่อมีรอบใหม่
การบํารุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม วัดประสิทธิผลของการปฏิบัติที่ค่าประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรอุปกรณ์ หรือ OEE ( Overall Equipment Effectiveness ) ซึ่งถือเป็นดัชนีความสําเร็จในภาพรวม โดยพิจารณาที่ผลลัพธ์เป็นสําคัญ กล่าวคือ การพิจารณาที่การใช้ประโยชน์จากเครื่องจักร การใช้ประโยชน์จากวัตถุดิบและการทํางานได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ นอกจากนั้นยังจําเป็นต้องมีหน่วยวัดอื่น เช่นการวัดระยะเวลาเฉลี่ยที่เครื่องจักรใช้งานได้ก่อนการเสียหาย หรือ MTBF (Mean Time Between Failure) และ ระยะเวลาเฉลี่ยที่ใช้ในการแก้ไขเมื่อเครื่องจักรเสียแต่ละครั้ง หรือ MTTR ( Mean Time To Repair ) เป็นต้น รวมถึงหลักการซ่อมบํารุงรักษาด้วยตนเองเบื้องต้นของผู้ที่อยู่หน้าเครื่องจักร (AM) ทั้ง 8 ด้านที่ควรรู้ เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถรับรู้ถึงประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักรไปพร้อมๆกันเพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงเครื่องจักรอย่างต่อเนื่องต่อไป
การอบรมเชิงปฏิบัติการนี้ จึงเป็นคําตอบที่ดีขององค์กรที่ต้องการเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิต ด้วยการเพิ่มความสามารถในการเดินเครื่องได้ตลอดเวลาของเครื่องจักรผ่านกิจกรรม TPM ที่ในระหว่างการอบรมจะมีแบบฝึกหัด ตัวอย่าง และการระดมสมองของผู้เข้าร่วมการอบรมเอง เพื่อให้เกิดความเข้าใจและสามารถนําไปใช้ได้จริงหลังการอบรม เพื่อเป้าประสงค์หลักของการเป็น World Class Manufacturing
วัตถุประสงค์
- เพื่อสร้างความเข้าใจต่อต้นทุนการผลิต และสร้างผลกําไรให้กับบริษัท
- เพื่อสร้างแนวคิดในการดําเนินกิจกรรม TPM อย่างเป็นระบบ
- เพื่อสร้างแนวทางในการบํารุงรักษาด้วยตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อเสริมสร้างแนวคิดการป้องกัน การวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาเครื่องจักรอย่างเป็นมีรูปแบบ
- เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาหน่วยงาน และบริษัทอย่างต่อเนื่อง
1.องค์ประกอบของการผลิต ด้านต้นทุน กําไร และรายได้
2.ความหมายของระบบการซ่อมบํารุง
3.การซ่อมบํารุงแบบต่าง ๆ ในโรงงานอุตสาหกรรม
4.ความหมายของ TPM และความแตกต่างจากระบบ PM
5. ความสูญเสียหลักทั้ง 6 ประการของเครื่องจักร
6. เสาหลักทั้ง 8 ของ TPM
6.1 การปรับปรุงเฉพาะเรื่อง (Individual Improvement)
6.2 การบํารุงรักษาด้วยตนเอง (Autonomous Maintenance)
6.3การบํารุงรักษาตามแผน (Planned Maintenance)
6.4การศึกษาและฝึ กอบรมเพื่อเพิ่มทักษะการทํางานและการบํารุงรักษา (Operation and Maintenance Development)
6.5การคํานึงถึงการบํารุงรักษาตั้งแต่ขั้นการออกแบบ (Initial Phase Management)
6.6ระบบการบํารุงรักษาเพื่อคุณภาพ (Quality Maintenance)
6.7 ระบบการทํางานของฝ่ ายบริหารที่ตระหนักถึงประสิทธิภาพการผลิตหรือเรียกว่า TPM ในสํานักงาน (TPM in Office)
7. กลยุทธ์ในการดําเนินการ TPM
8. ดัชนีชี้วัดของ TPM และความหมายค่า OEE / MTBF / MTTR ของเครื่องจักร
9. การประสานงานร่วมกันระหว่างฝ่ ายผลิตและซ่อมบํารุงเพื่อการทํา TPM ที่สมบูรณ์
Workshop1: การทํางานเป็ นทีมและระดมสมองเพื่อการผลิตที่สุดยอด
Workshop2: การสํารวจเครื่องจักรเพื่อทําระบบ TPM เบื้องต้นของผู้เข้าอบรม
Workshop3: การรวมตัวเพื่อสร้างกลุ่ม TPM ในการทํากิจกรรมการบํารุงรักษาด้วยตนเอง แบ่งผู้เข้าสัมมนาออกเป็ น 5 กลุ่มย่อย นําเครื่องจักรที่ใช้ในการปฏิบัติงานจริงในโรงงานมาทํากรณีศึกษา และ
นําเสนอผลงานแต่ละกลุ่มอภิปรายแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนประสบการณ์
Workshop4: กรณีศึกษาของการใช้ระบบ TPM ที่ประสบผลสําเร็จ
10. แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถามตอบ
กําหนดการ
09.00 - 09.15 น. : กิจกรรมละลายพฤติกรรม
- กิจกรรมเปิดการอบรมและทําความรู้จักกันภายในห้องอบรม
09.15 - 10.30 น. : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบซ่อมบํารุง และการบํารุงรักษาเครื่องจักรที่ทุกคนมีส่วนร่วม
1. องค์ประกอบของการผลิต ด้านต้นทุนกําไร และรายได้
2. ความหมายของระบบการซ่อมบํารุง
3. การซ่อมบํารุงแบบต่าง ๆ ในโรงงานอุตสาหกรรม
4. ความหมายของ TPM และความแตกต่างจากระบบ PM
5. ความสูญเสียหลักทั้ง 6 ประการของเครื่องจักร
10.30 - 10.40 น. : พักเบรก
10.40 - 12.00 น. : ระบบการบํารุงรักษาเครื่องจักรที่ทุกคนมีส่วนร่วม
6. เสาหลักทั้ง 8 ของ TPM
6.1 การปรับปรุงเฉพาะเรื่อง (Individual Improvement)
6.2 การบํารุงรักษาด้วยตนเอง (Autonomous Maintenance)
6.3 การบํารุงรักษาตามแผน (Planned Maintenance)
6.4 การศึกษาและฝึ กอบรมเพื่อเพิ่มทักษะการทํางานและการบํารุงรักษา (Operation and Maintenance Development)
12.00 - 13.00 น. : พักเที่ยง
13.00 - 13.10 น. : กิจกรรมกระตุ้นผู้เข้ารับการอบรม
- กิจกรรมกระตุ้นสมอง
13.10 - 14.30 น. : ระบบการบํารุงรักษาเครื่องจักรที่ทุกคนมีส่วนร่วม (ต่อ)
6.5 การคํานึงถึงการบารุงรักษาตั้งแต่ขั้น การออกแบบ (Initial Phase Management)
6.6 ระบบการบํารุงรักษาเพื่อคุณภาพ (Quality Maintenance)
6.7 ระบบการทํางานของฝ่ายบริหารที่ตระหนักถึงประสิทธิภาพการผลิตหรือเรียกว่า TPM ในสานักงาน (TPM in Office)
7. กลยุทธ์ในการดาเนินการ TPM
8. ดัชนีชี้วัดของ TPM และความหมาย OEE / MTBF / MTTR ของเครื่องจักร
14.30 - 14.40 น. : พักเบรก
14.40 - 16.00 น. : การทํากิจกรรมกลุ่ม 9. การประสานงานร่วมกันระหว่างฝ่ายผลิตและซ่อมบํารุงเพื่อการทํา TPM ที่สมบูรณ์
Workshop1: การทํางานเป็ นทีมและระดมสมองเพื่อการผลิตที่สุดยอด
Workshop2: การสํารวจเครื่องจักรเพื่อทําระบบ TPM เบื้องต้นของผู้เข้าอบรม
Workshop3: การรวมตัวเพื่อสร้างกลุ่มTPM ในการทํากิจกรรมการบํารุงรักษาด้วยตนเอง แบ่งผู้เข้าสัมมนาออกเป็ น 5 กลุ่มย่อย นําเครื่องจักรที่ใช้ในการปฏิบัติงานจริงในโรงงานมาทํากรณี
ศึกษา และนําเสนอผลงานแต่ละกลุ่มอภิปรายแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนประสบการณ์
Workshop4:กรณีศึกษาของการใช้ระบบ TPM ที่ประสบผลสําเร็จ
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถามตอบ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้าอบรมสามารถเรียนรู้และเข้าใจหลักการทํากิจกรรม TPM อย่างถูกต้อง
2.ผู้เข้าอบรมสามารถนําหลักการของ TPM ไปประยุกต์ใช้กับงานของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.ผู้เข้าอบรมสามารถเรียนรู้การซ่อมบํารุงเครื่องจักรเบื้องต้นด้วยตนเองได้
4.ผู้เข้าอบรมมีจิตสํานึกเรื่องคุณภาพและทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ
5.ผู้เข้าอบรมมีสํานึกการรักองค์กรมากขึ้น
- หัวหน้างาน พนักงาน และผู้ที่สนใจทัวไป ่
สัมมนานี้ได้รับประกาศนียบัตร
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท: | SeminarDD Academy |
ชื่อผู้ประสานงาน: | ผู้จัดงาน |
เบอร์โทรศัพท์ : | 097-474-6644 |
หากท่านต้องการสมัคร TPM การบํารุงรักษาเครื่องจักรเพื่อการเพิ่มผลผลิตที่ทุกคนมีส่วนร่วม (Advance TPM for Productivity improvement)
กรุณากดปุ่ม 'สมัครเข้าฟัง' ด้านล่างนี้
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
หลักสูตรนี้สามารถจัดแบบ In-House Training (สอนเฉพาะองค์กรของคุณ) ได้ทั้งแบบ Onsite และ Online ขอใบเสนอราคา In-house Training