หลักสูตร การบริหารคลังสินค้าอย่างมืออาชีพ

รหัสหลักสูตร: 67334

จำนวนคนดู 434 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม
หลักสูตร การบริหารคลังสินค้าอย่างมืออาชีพ
รอบที่

-

ยังไม่มีรอบจัดในขณะนี้

ท่านสามารถลงทะเบียนล่วงหน้าเพื่อรับการแจ้งเตือนเมื่อมีรอบใหม่

หลักการและเหตุผล

การจัดการคลังสินค้า (Warehouse) และสินค้าคงคลัง (Inventory) เป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ซึ่งหลักสูตรนี้เป็นการแปลงวิชาการจัดการคลังสินค้าให้พนักงานทุกระดับ สามารถเข้าใจได้ง่าย นำไปใช้ได้ โดยใช้กิจกรรม ต่างๆเข้ามาช่วยในการอบรม โดยเนื้อหาประกอบด้วย การปรับพื้นฐานให้เข้าใจเรื่องการจัดการโลจิสติกส์ (Logistics) และโซ่อุปทาน (Supply Chain) ก่อนเข้าสู่เนื้อหา การจัดการสินค้าคงคลัง (Inventory Management) การจัดการคลังสินค้า (Warehouse Management) และการปรับปรุงพัฒนาระบบการจัดการคลังสินค้า ให้มีประสิทธิภาพ


วัตถุประสงค์

1.เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ทราบหลักการและเทคนิคการจัดระบบบริหารคลังสินค้าระบบตรวจนับสินค้า ระบบการตรวจนับที่มีประสิทธิภาพ

2.เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของการจัดการคลังสินค้าในโลกแห่งการแข่งขัน

3.เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่องค์กร


หัวข้ออบรมสัมมนา
เนื้อหาหลักสูตร

1. ปรับพื้นฐานงานบริหารสต๊อกแบบมืออาชีพ

           • กิจกรรมเพื่อให้เข้าใจความหมายและความแต่งต่าง ของ การจัดการโซ่อุปทาน การจัดการโลจิสติกส์

            และการจัดการสินค้าคงคลัง

           • ความสำคัญของสินค้าคงคลัง และความจำเป็นที่ต้องบริหารสินค้าคงคลัง

           • ระบบการบริหารคลังสินค้า กับ บริหารสินค้าคงคลัง ที่ต้องผสมผสานกัน

           • เข้าใจต้นทุนที่เกิดขึ้นการในบริหารคลังสินค้า

    2. การจัดการคลังสินค้า

          • หลักการบริหารคลังสินค้า

          • กระบวนการ รับ จัดเก็บ และเบิกจ่าย ในคลังสินค้า

          • เทคนิคการออกแบบพื้นที่และจัดวางสินค้าให้มีประสิทธิภาพ

          • การกำหนดรหัสสินค้า (Item Code) และการบ่งชี้

          • ABC Analysis เพื่อจัดการสินค้าคงคลัง และจัดการคลังสินค้า

          • การจำแนกต้นทุน วิเคราะห์ต้นทุน ต้นทุนจม และการลดต้นทุน

          • กลยุทธ์การลดสต๊อก แบบเข้าใจง่าย ไม่ต้องใช้การคำนวณขั้นสูง

           • การเลือกใช้อุปกรณ์ในการเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บสินค้า

           • ความปลอดภัยในคลังสินค้า

 3. เทคนิคการตรวจนับสินค้าคงคลัง

            • วิธีและรูปแบบการตรวจนับสินค้า

            • การวางแผนการตรวจนับสินค้า

            • การดำเนินการตรวจนับสินค้า และเครื่องมือในการตรวจนับ

            • การวิเคราะห์และการดำเนินการหลังตรวจนับ

            • จัดทำมาตรฐานการตรวจนับ

4. การปรับปรุงและพัฒนาระบบบริหารคลังสินค้า

            • ความสูญเปล่าในคลังสินค้า (8 Wastes) เทคนิคการวิเคราะห์ปัญหาและปรับปรุงงาน

            • เทคโนโลยีในการบริหารคลังสินค้า อดีต ปัจจุบัน และแนวโน้มที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคต

            • Work Shop การวิเคราะห์ปัญหา และปรับปรุงงานคลังสินค้า

5.รวมปัญหาในคลังสินค้าและการจัดการกับสินค้าคงคลังพร้อมหาแนวทางแก้ไข

6. กิจกรรม Expertise & Q/A

    - ประมวลความรู้ ความเข้าใจเพื่อการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิผล

    - แบ่งปันประสบการณ์และถามตอบ


วิทยากร
คุณสมบัติผู้เข้าฟัง/กลุ่มเป้าหมาย
- ระดับปฏิบัติการ 

- ระดับหัวหน้างาน

ภาษาในการบรรยาย
ไทย
ประกาศนียบัตร

สัมมนานี้ได้รับประกาศนียบัตร

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
อย่าลืมบอกผู้จัดงานว่าเห็นประกาศจากเวป "สัมมนาดีดี" นะคะ
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท:SeminarDD Academy
ชื่อผู้ประสานงาน:ผู้จัดงาน
เบอร์โทรศัพท์ :097-474-6644

หากท่านต้องการสมัคร หลักสูตร การบริหารคลังสินค้าอย่างมืออาชีพ
กรุณากดปุ่ม 'สมัครเข้าฟัง' ด้านล่างนี้


ค่าฝึกอบรมสามารถหักค่าใช้จ่ายทางภาษีนิติบุคคลได้ 200%
ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd

หลักสูตรนี้สามารถจัดแบบ In-House Training (สอนเฉพาะองค์กรของคุณ) ได้ทั้งแบบ Onsite และ Online ขอใบเสนอราคา In-house Training

คำค้นประกาศนี้ Tags: การจัดการคลังสินค้า (Warehouse), สินค้าคงคลัง (Inventory), งานบริหารสต๊อกแบบมืออาชีพ, การจัดการโลจิสติกส์, ABC Analysis, ความสูญเปล่าในคลังสินค้า

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

หลักสูตร : การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ ( Project Feasibility Analysis ) ...

ขอเชิญอบรม หลักสูตร : การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ ( Project Feasibility Analysis ) #โครงการนั้นมีความเหมาะสม มีความคุ้มค่าและมีความเป็นไปได้ที่จะมีโครงการนั้นอยู่หรือไม่ดังนั้นก่อนที่จะเริ่มโครงการใดๆ ก็ตาม เราควรจะต้องวิเคราะห์ความเป็นไปได้