เทคนิคการจัดการบำรุงรักษาด้วยตนเอง ( AM : Autonomous Maintenance )

รหัสหลักสูตร: 66289

จำนวนคนดู 1038 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม
สอนสดออนไลน์
เทคนิคการจัดการบำรุงรักษาด้วยตนเอง ( AM : Autonomous Maintenance )
รอบที่

-

ยังไม่มีรอบจัดในขณะนี้

ท่านสามารถลงทะเบียนล่วงหน้าเพื่อรับการแจ้งเตือนเมื่อมีรอบใหม่

หลักการและเหตุผล

          การบำรุงรักษาทวีผลแบบที่ทุกคนมีส่วนร่วมนั้นนับได้ว่าเป็นแนวคิดและหลักการที่ใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการการใช้ทรัพยากร เช่น คน เครื่องจักร/อุปกรณ์ วัตถุดิบ และพลังงานให้คุ้มค่าโดยให้มีความสูญเสียน้อยที่สุด หรือไม่ให้มีเลย(Zero losses) ซึ่งแนวคิดนี้จะอยู่ในรูปของ การพัฒนาโดยจะคำนึงถึงที่มาของความสูญเสียเป็นหลัก ประกอบด้วยการดาเนินการผ่าน 8 เสาหลักเพื่อทาให้ความสูญเสียนั้นลดน้อยลง และ หนึ่งในเสาหลักที่สำคัญคือ การดูแลรักษาด้วยตนเอง AUTONOMOUS MAINTENANCE (JISHU HOZEN) มีแนวคิดการดำเนินการ 7 ขั้นตอน เพื่อทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง การที่พนักงานประจำเครื่องมีสามารถในการดูแลรักษาเครื่องจักรด้วยตนเองได้ ตั้งแต่การทำความสะอาดเพื่อ ค้นหาข้อบกพร่อง การสามารถปรับปรุงแก้ไข เบื้องต้นแบบง่ายๆได้เอง การกำหนดวิธีการทำความสะอาด หล่อลื่น ตรวจสอบเครื่องจักร เบื้องต้นได้ จะมีส่วนช่วยให้กระบวนการผลิตมีความสูญเสียต่างๆ ที่ลดลง สามารถผลิตสินค้าที่มีคุณภาพดี ต้นทุนต่ำ และส่งมอบได้ตรงเวลา

 วัตถุประสงค์

      1. เห็นความสำคัญในการบำรุงรักษาเครื่องจักรด้วยตนเอง
      2. ยกระดับความสามารถการบำรุงรักษาเครื่องจักรให้กับผู้ควบคุมเครื่องจักร

      3. เรียนรู้เครื่องมือช่วยในการบริหารจัดการองค์กร
      4. แลกเปลี่ยนและแบ่งปันแนวคิดในการจัดการความเสี่ยงจากวิทยากรและผู้เข้ารับการอบรม
 

สอนสดออนไลน์ผ่านทาง Zoom

หัวข้ออบรมสัมมนา
หัวข้อเรียนรู้
     1. หลักสำคัญการดำเนินกิจกรรมการบำรุงรักษาด้วยตนเอง (Autonomous Maintenance)
     2. บทบาทหน้าที่ของฝ่ายผลิตและซ่อมบำรุงในกิจกรรมการบำรุงรักษาด้วยตนเอง
     3. แนวคิดของการปรับปรุงสภาวะเงื่อนไขพื้นฐานของการบำรุงรักษาด้วยตนเอง
     4. การดำเนินกิจกรรมการบำรุงรักษาด้วยตนเอง 7 ขั้นตอน
            - ขั้นที่ 0 การเตรียมการดำเนินกิจกรรม การบำรุงรักษาด้วยตนเอง
            - ขั้นที่ 1 การทำความสะอาดขั้นต้น
            - ขั้นที่ 2 การแก้ไขจุดที่ก่อให้เกิดสิ่งสกปรกและตำแหน่งที่ยากลาบากต่อการปฏิบัติงาน
            - ขั้นที่ 3 การเขียนมาตรฐานชั่วคราวของการบำรุงรักษาด้วยตนเอง
            - ขั้นที่ 4 การตรวจเช็คโดยรวม
            - ขั้นที่ 5 การตรวจเช็คด้วยตนเอง
            - ขั้นที่ 6 การเขียนมาตรฐาน
            - ขั้นที่ 7 การควบคุมดูแลด้วยตนเองอย่างเป็นระบบ
     5. Work shop
     6. รวบรวมข้อมูลการดาเนินกิจกรรม
     7. การแก้ไขจุดที่ก่อให้เกิดสิ่งสกปรกและตาแหน่งที่ยากลาบากต่อการปฏิบัติงาน
     8. การเขียนมาตรฐานชั่วคราวของการบารุงรักษาด้วยตนเอง
     9. นำเสนอผลงานการดาเนินกิจกรรมแต่ละกลุ่ม
     10. สรุปผลการอบรม และถามตอบ


รูปแบบการเรียนรู้ 

     - บรรยายแบบกระชับ (Mini-lecture)
     - ฝึกปฏิบัติตามโจทย์ พร้อมคาแนะนาจากวิทยากร
     - เรียนรู้จากกรณีศึกษา พร้อมคาแนะนาในการนาไปปรับใช้
     - อภิปรายและแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับวิทยากร

วิธีการฝึกอบรม (ทฤษฏี 40% เชิงปฏิบัติการ 60%)
     - การบรรยาย-สาธิตเนื้อหาและทฤษฎีรวมทั้งชมภาพและวีดีทัศน์ประกอบ
     - ตัวอย่างกรณีศึกษาสำหรับการฝึกปฏิบัติ
     - กิจกรรมกลุ่มระดมสมอง
     - กิจกรรมกลุ่ม(Workshop)

วิทยากร
คุณสมบัติผู้เข้าฟัง/กลุ่มเป้าหมาย
     - ผู้บริหาร ผู้จัดการ วิศวกร หัวหน้างาน ที่เกี่ยวข้อง
     - ผู้ที่มีหน้าที่หรือผู้ได้รับพิจารณาให้รับผิดชอบงานที่ เกี่ยวข้องและผู้สนใจทั่วไป

ภาษาในการบรรยาย
ไทย
ประกาศนียบัตร

สัมมนานี้ได้รับประกาศนียบัตร

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
อย่าลืมบอกผู้จัดงานว่าเห็นประกาศจากเวป "สัมมนาดีดี" นะคะ
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท:SeminarDD Academy
ชื่อผู้ประสานงาน:ผู้จัดงาน
เบอร์โทรศัพท์ :097-474-6644
สอนสดออนไลน์

หากท่านต้องการสมัคร เทคนิคการจัดการบำรุงรักษาด้วยตนเอง ( AM : Autonomous Maintenance )
กรุณากดปุ่ม 'สมัครเข้าฟัง' ด้านล่างนี้


เข้าฟังสัมมนาผ่านแพลตฟอร์ม Zoom

ค่าฝึกอบรมสามารถหักค่าใช้จ่ายทางภาษีนิติบุคคลได้ 200%
ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd

หลักสูตรนี้สามารถจัดแบบ In-House Training (สอนเฉพาะองค์กรของคุณ) ได้ทั้งแบบ Onsite และ Online ขอใบเสนอราคา In-house Training

คำค้นประกาศนี้ Tags: เทคนิคการจัดการบำรุงรักษาด้วยตนเอง, AM : Autonomous Maintenance

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

หลักสูตร : การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ ( Project Feasibility Analysis ) ...

ขอเชิญอบรม หลักสูตร : การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการ ( Project Feasibility Analysis ) #โครงการนั้นมีความเหมาะสม มีความคุ้มค่าและมีความเป็นไปได้ที่จะมีโครงการนั้นอยู่หรือไม่ดังนั้นก่อนที่จะเริ่มโครงการใดๆ ก็ตาม เราควรจะต้องวิเคราะห์ความเป็นไปได้