การตรวจประเมินประสิทธิภาพระบบบำรุงรักษา ภาคปฏิบัติ ( Maintenance Performance Audit Practical:MPA 2019 )

รหัสหลักสูตร: 66550

จำนวนคนดู 638 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม
สอนสดออนไลน์
การตรวจประเมินประสิทธิภาพระบบบำรุงรักษา ภาคปฏิบัติ ( Maintenance Performance Audit Practical:MPA 2019 )
รอบที่

-

ยังไม่มีรอบจัดในขณะนี้

ท่านสามารถลงทะเบียนล่วงหน้าเพื่อรับการแจ้งเตือนเมื่อมีรอบใหม่

ทำไม? ต้องมีการตรวจประเมิน จะได้ประโยชน์อะไร ?
      การตรวจประเมินประสิทธิภาพระบบบำรุงรักษา เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง ที่ผู้บริหาร ระดับจัดการ ผู้จัดการฝ่าย วิศวกร หัวหน้า ใช้ประเมิน ความสำเร็จ ของระบบ และติดตาม วิเคราะห์ผล เพื่อหาจุดเด่น จุดด้อย ที่จะใช้กำหนดนโยบาย การบริหารระบบบำรุงรักษา วางแผน ปรับปรุง แก้ไข ให้บรรลุ ตามเป้าหมายขององค์กร บริษัท หรือใช้เป็น สถิติ ข้อมูล สำหรับ กำหนดนโยบายการบริหาร เป้าหมาย การดำเนินการขององค์กร บริษัทต่อไป
     การสัมมนาครั้งนี้ มุ่งเน้นภาคปฏิบัติ และประสบการณ์ จากการทำงาน การตรวจประเมินในโรงงาน ทำให้ผู้สัมมนา มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถ ตรวจประเมินระบบภายใน และรายงานที่นำไปใช้งานได้
ประโยชน์ที่จะได้รับ
     1. การกำหนดนโยบาย และถ่ายทอดสู่การวางแผนปฏิบัติ
     2. ระบบบำรุงรักษาที่สอดคล้อง กับองค์กร บริษัท ทักษะความสามารถของบุคลากร
     3. การรายงานผลลัพธ์ จุดเด่น จุดด้อย ที่จะนำไปกำหนดเป็นนโยบายบริหาร สู่การปฏิบัติ

สอนสดออนไลน์ผ่านทาง Zoom

หัวข้ออบรมสัมมนา
หัวข้อสัมมนา
 วันแรก เวลา 09.00 - 16.00 น.
     1  เทคนิค และวิธีการตรวจประเมิน
     2  กำหนดการตรวจประเมิน และรายชื่อ ตำแหน่งผู้รับการตรวจประเมิน
     3  การเปิดการตรวจประเมิน Kick Off
     4  ภาคปฏิบัติ
           4.1    หัวข้อการตรวจประเมิน Leadership and Empowerment การตั้งประเด็น คำถาม ข้อแนะนำ การตรวจประเมิน และการลงดูหน้างานจริง
                         1.Plant Yearly Policy
                              1.1Empowerment Matrix
                         2.Maintenance Vision and Strategy
                         3.Performance Measures KPI
                         4.Organization Structure
                         5.Human Resources
                         6.Knowledge Base
 วันที่สอง
     5.  ภาคปฏิบัติ
           5.1  หัวข้อการตรวจประเมิน Systems and Processes การตั้งประเด็น คำถาม ข้อแนะนำ การตรวจประเมิน และการลงดูหน้างานจริง
                       1.Asset Maintenance  and Strategy
                       2.Maintenance System
                             2.1 Proactive Maintenance
                             2.2 Preventive Maintenance
                             2.3 Predictive Maintenance
                             2.4 Insurance Maintenance
                       3. Planning and Scheduling
                       4. Materials Management    
                       5. Contractor Management
                       6. Reliability Engineering
                       7. Safety and Environment
    6.  การปิดการตรวจประเมิน Close Meeting
    7.  การจัดทำรายงานผลการตรวจประเมิน
วิทยากร
คุณสมบัติผู้เข้าฟัง/กลุ่มเป้าหมาย
1  ผู้บริหาร ระดับกำหนดนโยบาย
2  ผู้จัดการฝ่าย
3  วิศวกร หัวหน้า-พนักงานควบคุม-เดินเครื่องจักร และซ่อมบำรุง

ภาษาในการบรรยาย
ไทย
ประกาศนียบัตร

สัมมนานี้ได้รับประกาศนียบัตร

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
อย่าลืมบอกผู้จัดงานว่าเห็นประกาศจากเวป "สัมมนาดีดี" นะคะ
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท:SeminarDD Academy
ชื่อผู้ประสานงาน:ผู้จัดงาน
เบอร์โทรศัพท์ :097-474-6644
สอนสดออนไลน์

หากท่านต้องการสมัคร การตรวจประเมินประสิทธิภาพระบบบำรุงรักษา ภาคปฏิบัติ ( Maintenance Performance Audit Practical:MPA 2019 )
กรุณากดปุ่ม 'สมัครเข้าฟัง' ด้านล่างนี้


เข้าฟังสัมมนาผ่านแพลตฟอร์ม Zoom

ค่าฝึกอบรมสามารถหักค่าใช้จ่ายทางภาษีนิติบุคคลได้ 200%
ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd

หลักสูตรนี้สามารถจัดแบบ In-House Training (สอนเฉพาะองค์กรของคุณ) ได้ทั้งแบบ Onsite และ Online ขอใบเสนอราคา In-house Training

คำค้นประกาศนี้ Tags: การตรวจประเมินประสิทธิภาพระบบบำรุงรักษาภาคปฏิบัติ, Maintenance Performance Audit Practical:MPA 2019

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

หลักสูตร นักจัดซื้อยุคใหม่... เพื่อความสำเร็จขององค์กร

คาดหวังให้นักจัดซื้อ ต้องสามารถรองรับรูปแบบการธุรกิจใหม่ๆให้ได้ด้วย เช่น e-commerce ธุรกิจในปัจจุบันนี้ ต้องการ ความรวดเร็ว (Speed) มีประสิทธิภาพ (Efficiency) และต้นทุนที่ต่ำ (Cost Deduction) ดังนั้น นักจัดซื้อสมัยใหม่จะต้องมีแนวคิดในเรื่อง Logisti