10กุญแจสำหรับนักฝึกอบรมมืออาชีพ

รหัสหลักสูตร: 20695

จำนวนคนดู 1668 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd

วัตถุประสงค์


  1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการบริหารงานฝึกอบรมสำหรับเจ้าหน้าที่ฝึกอบรมอย่างมืออาชีพ
  2. เพื่อเพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมพัฒนาทักษะการดำเนินงานอบรมให้สำเร็จตามเป้าหมายองค์กร
  3. เพื่อให้มีแนวทางการทำงานฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรอย่างถูกหลักการและเป็นขั้นตอน


หัวข้ออบรมสัมมนา

ประเด็นการสัมมนา   

 

1.แนวคิดและหลักการบริหารงานฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรในองค์กรสมัยใหม่

2.บทบาทหน้าที่และคุณสมบัติของเจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

3.ไขกุญแจ 10 ดอกการบริหารงานจัดฝึกอบรมของเจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

•กุญแจ 1 การเตรียมการก่อนจัดโครงการอบรม

•กุญแจ 2 ประสานงาน และติดต่อวิทยากร

•กุญแจ 3 ติดต่อผู้เข้าอบรม

•กุญแจ 4 การเปิดโครงการฝึกอบรม (ฝึกทักษะการพูด)

•กุญแจ 5 การเงิน

•กุญแจ 6 งานเทคโนโลยีและสื่อการอบรม

•กุญแจ 7 งานธุรการ

•กุญแจ 8 การดำเนินการระหว่างที่จัดให้มีการฝึกอบรม

•กุญแจ 9 วันปิดการอบรม

•กุญแจ 10 ภายหลังการอบรมเสร็จสิ้น

4.แบบฟอร์มการทำงานเพื่อตรวจประสิทธิภาพในการทำงานของเจ้าหน้าที่ฝึกอบรม

•ก่อนอบรม

•ระหว่างอบรม

•หลังอบรม

5.การวิเคราะห์ความต้องการฝึกอบรมและการเขียนหลักสูตรให้ตรงกับการฝึกอบรมและพัฒนา 

WORKSHOP : ฝึกทักษะการวิเคราะห์ TNA และเขียนโครงสร้างหลักสูตรตามแนว KUSAVA 

6.การกำหนด Key Performance Indicator (KPI) ในการฝึกอบรม (ฝึกปฏิบัติ)

7. วิธีการประเมินผลและการติดตามผลการฝึกอบรม (ชมตัวอย่างและแลกเปลี่ยน)

8. แลกเปลี่ยนประสบการณ์และประเด็นตอบคำถาม


ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

หลักสูตร การวางแผนและควบคุมการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ ( Production Planning and C...

เพื่อสามารถจัดระเบียบการไหลของงานในระบบผลิต และติดตามการทำงานนั้นว่าเป็นไปตามแผนที่ได้วางไว้หรือไม่ เพื่อที่จะได้สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้ทันเวลา หรือเป็นการเตรียมและจัดการทรัพยากรและความต้องการตลอดจนทางเลือกต่างๆให้เกิดความพร้อมสำหรับการผลิต