การผลิตแบบลีนสำหรับอุตสาหกรรมสิ่งทอ

รหัสหลักสูตร: 21797

จำนวนคนดู 3478 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd

วัตถุประสงค ์

1. เพื่อให้เข้าใจถึงแนวคิดแบบลีน และการลดความสูญเปล่าในการปฏิบัติงาน 

2. เพื่อให้เข้าใจแนวทางในการนําแนวคิดแบบลีนไปประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงกระบวนการผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ 

3. เพื่อให้สามารถนําแนวคิดการผลิตแบบลีนไปปฏิบัติจริงในองค์กร

หัวข้ออบรมสัมมนา
  • กิจกรรม การค้นหาความสูญเปล่า 
  • การบรรยาย แนวคิดแบบลีน (Lean Thinking) กับอุตสาหกรรมสิ่งทอ 
  • มูลค่าเพิ่มในกระบวนการและความสูญเปล่า 7 ประการ 
  • การบรรยาย เครื่องมือลดความสูญเปล่า (Lean Tools)
  • การบรรยาย การควบคุมสถานที่ปฏิบัติงาน (Worksite Control) 
  • กิจกรรม การควบคุมสถานที่ปฏิบัติงาน (Worksite Control) 
  • การบรรยาย 5ส กับการปรับปรุงประสิทธิภาพ 
  • มอบหมายงาน Quick Win Project
  • กิจกรรม VSM Simulation 
  • การบรรยาย การจัดสายธารคุณค่า (VSM) และทฤษฏีข้อจํากัด (TOC) 
  • การบรรยาย การจัดทํา VSM ในอุตสาหกรรมสิ่งทอ
  • การบรรยาย TPM และเทคนิคการลดเวลาในการเปลี่ยนรุ่นการผลิต (Single Minute Exchange of Dies) 
  • กิจกรรม การลดเวลาในการเปลี่ยนรุ่น (Single Minute Exchange of Dies)
  • กิจกรรม Pull System 
  • การบรรยาย คัมบัง (Kanban) และซุปเปอร์มาร์เกต 
  • การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นการปรับปรุงดวยเครื่องมือลีน 
  • กรณีศึกษา การพัฒนาระบบการผลิตแบบลีนในอุตสาหกรรมสิ่งทอ

ระหว่างวันที่ 22 – 23 และ 28 – 30 พฤษภาคม 2557 รวม 5 วัน เวลา 08.30 – 16.30 น. 


ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd
คำค้นประกาศนี้ Tags: อบรมฟรี, อบรมหลักสูตรดีดี, การผลิตแบบลีน, lean, การจัดการการผลิต, การบริหารการผลิต

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

หลักสูตร เจาะลึกการนำเข้า 2024 (Deep Import 2024)

ขอเชิญอบรม หลักสูตร เจาะลึกการนำเข้า 2024 (Deep Import 2024) #การนำเข้า ก็คือ การทำพิธีการศุลกากร ซึ่งจะต้องดำเนินการตามกฎระเบียบของกรมศุลกากรอย่างเคร่งครัด และการดำเนินนั้นมีขั้นตอนที่มีรายละเอียดมาก จนต้องมีผู้มาดำเนินการแทนผู้นำเข้า