หลักสูตร การบริหารจัดการความเสี่ยงด้าน HR หลังยุควิกฤติโควิด (ตามมาตรฐาน ISO 31000 :2018)

รหัสหลักสูตร: 66872

จำนวนคนดู 890 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม
หลักสูตร การบริหารจัดการความเสี่ยงด้าน HR หลังยุควิกฤติโควิด (ตามมาตรฐาน ISO 31000 :2018)
รอบที่

-

ยังไม่มีรอบจัดในขณะนี้

ท่านสามารถลงทะเบียนล่วงหน้าเพื่อรับการแจ้งเตือนเมื่อมีรอบใหม่

หลักการและเหตุผล

  • ผลกระทบวิกฤติโควิด โลกใบเดิม ที่จะไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป
  • ถอดบทเรียนจากวิกฤติโควิด เพื่อป้องกันความเสี่ยงในอนาคต
  • จะเกิดอะไรหลังจากนี้ ! รู้เท่าทันความเสี่ยง ก็จัดการความเสี่ยงได้
  • พิเศษ !!! แนวปฏิบัติการบริหารจัดการความเสี่ยงและผลกระทบด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Guideline on Data Protection Risk/Impact Assessment) ตาม พรบ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA)

หลักสูตรนี้มุ่งเน้นการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับความเสี่ยงด้านทรัพยากรบุคคลรวมทั้งให้แนวทางกระบวนการตลอดจนเทคนิค ในการจัดการความเสี่ยงเพื่อให้องค์กรมีความพร้อมที่จะรับมือความเสี่ยงด้านทรัพยากรบุคคลที่อาจเกิดขึ้นในสถานการณ์ต่างๆ

หัวข้ออบรมสัมมนา

1.ความสำคัญของการบริหารความเสี่ยง และความจำเป็นของการใช้การบริหารความเสี่ยงในการบริหารผล ดำเนินงานของกิจการ (Risk-Based Performance Management)

2.เรียนรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการความเสี่ยงตามมาตรฐาน ISO 31000 (Framework) กับหลัก 8 ประการ (Principles)

3. การบริหารจัดการความเสี่ยงตามแนวทางมาตรฐาน ISO 31000 (Process)

  • การศึกษาเข้าใจในบริบท ขอบเขต และเกณฑ์การบริหารจัดการความเสียง
  • การประเมินความเสี่ยง
  • การบริหารจัดการและเยียวยาความเสี่ยง
  • การบันทึกและรายงานผล
  • การติดต่อสื่อสาร
  • การเฝ้าระวังและติดตามควบคุม

4. กระบวนการการบริหารจัดการความเสี่ยง

  • ประเภทความเสี่ยง (Risk)
  • การระบุความเสี่ยง
  • การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)
  • การวิเคราะห์ผลกระทบความเสี่ยงต่อผลประกอบการด้านต่าง ๆ
  • การจัดลำดับความเสี่ยงเพื่อการบริหารจัดการ (Risk Prioritization)

5. เรียนรู้ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับคนในองค์กร และประเภทความเสี่ยงด้าน HR

6. แนวคิดการกำหนดกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลในภาวะวิกฤติ และหลังจากนี้

7. แนวทางการบริหารความเสี่ยงด้าน HR เครื่องมือ แบบฟอร์ม ฯลฯ ที่จะนำมาใช้ในการบริหารความเสี่ยง

  • เครื่องมือวิเคราะห์หาปัจจัยความเสี่ยงและระบุความเสี่ยงในงาน HR
  • การวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงที่เกิดจากภายใน และภายนอก
  • การสร้างหลักเกณฑ์ในการประเมินโอกาสและผลกระทบความเสี่ยง
  • แบบฟอร์มการประเมินความเสี่ยง จัดลำดับความเสี่ยง การวางแผนบริหารความเสี่ยง ตลอดจนการรายงาน

Workshop 1 : การระบุเหตุการณ์ที่บ่งชี้ว่าจะเป็นความเสี่ยงด้านทรัพยากรบุคคลระดับองค์กร/ ระดับหน่วยงาน ตามยุทธศาสตร์ขององค์กร พร้อมประเมินความเสี่ยง (Event Identification) จากกรณีศึกษาตัวอย่างจริง

Workshop 2 : การสรุปผลการประเมินความเสี่ยงด้านทรัพยากรบุคคล

Workshop 3 : การจัดทำแผนปฏิบัติการจัดการความเสี่ยง (Risk Treatment Plan) ด้านทรัพยากรบุคคล พร้อมกรณีศึกษาตัวอย่างจริง

7. ถอดบทเรียนจากสถานการณ์วิกฤติโควิด กับความเสี่ยงและการจัดการความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น

8. แนวปฏิบัติการบริหารจัดการความเสี่ยงและผลกระทบด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Guideline on Data Protection

     Risk/Impact Assessment) ตาม พรบ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA)

วิทยากร
คุณสมบัติผู้เข้าฟัง/กลุ่มเป้าหมาย
1.ผู้บริหารระดับสูง

2.หน่วยงานบริหารความเสี่ยง /ควบคุมภายใน และผู้ที่เกี่ยวข้อง

3.หน่วยงาน HR

ภาษาในการบรรยาย
ไทย
ประกาศนียบัตร

สัมมนานี้ได้รับประกาศนียบัตร

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
อย่าลืมบอกผู้จัดงานว่าเห็นประกาศจากเวป "สัมมนาดีดี" นะคะ
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท:SeminarDD Academy
ชื่อผู้ประสานงาน:ผู้จัดงาน
เบอร์โทรศัพท์ :097-474-6644

หากท่านต้องการสมัคร หลักสูตร การบริหารจัดการความเสี่ยงด้าน HR หลังยุควิกฤติโควิด (ตามมาตรฐาน ISO 31000 :2018)
กรุณากดปุ่ม 'สมัครเข้าฟัง' ด้านล่างนี้


ค่าฝึกอบรมสามารถหักค่าใช้จ่ายทางภาษีนิติบุคคลได้ 200%
ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd

หลักสูตรนี้สามารถจัดแบบ In-House Training (สอนเฉพาะองค์กรของคุณ) ได้ทั้งแบบ Onsite และ Online ขอใบเสนอราคา In-house Training

คำค้นประกาศนี้ Tags: Principles, Framework and Process, Risk Assessment, Risk Prioritization, Event Identification, Risk Treatment Plan

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

หลักสูตร การวางแผนและควบคุมการผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ ( Production Planning and C...

เพื่อสามารถจัดระเบียบการไหลของงานในระบบผลิต และติดตามการทำงานนั้นว่าเป็นไปตามแผนที่ได้วางไว้หรือไม่ เพื่อที่จะได้สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้ทันเวลา หรือเป็นการเตรียมและจัดการทรัพยากรและความต้องการตลอดจนทางเลือกต่างๆให้เกิดความพร้อมสำหรับการผลิต