การปรับตั้งแนวศูนย์กลางระหว่างเพลา(Alignment) ด้วยไดอัลเกจ(Dial gauge) ภาคปฏิบัติ พร้อมโปรแกรม

รหัสหลักสูตร: 66547

จำนวนคนดู 1719 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม
สอนสดออนไลน์
การปรับตั้งแนวศูนย์กลางระหว่างเพลา(Alignment) ด้วยไดอัลเกจ(Dial gauge) ภาคปฏิบัติ พร้อมโปรแกรม
รอบที่

-

ยังไม่มีรอบจัดในขณะนี้

ท่านสามารถลงทะเบียนล่วงหน้าเพื่อรับการแจ้งเตือนเมื่อมีรอบใหม่

หลักการและเหตุผล
    เส้นตรงแนวศูนย์กลางระหว่างเพลา(Alignment) ใครคิดว่าไม่สำคัญ ?
มีช่างประกอบติดตั้ง ซ่อม บำรุงรักษาเครื่องจักร  จำนวนมาก คิดว่าการปรับตั้งแนวเส้นตรงศูนย์กลางระหว่างเพลา(Alignment) เครื่องจักรตัวขับ กับตัวตาม เป็นเรื่องง่าย ๆ ธรรมดา ไม่สำคัญ เพียงใช้บรรทัดเหล็ก สันใบเลื่อย หรือมีดกลึง ทาบวางบนขอบหน้าแปลนและปรับให้เสมอกันทั้ง 4 จุด ตรงกันข้ามกันก็เพียงพอ แต่หารู้ไม่ว่า ทำไม?แบริ่งเสียบ่อย เร็วกว่ากำหนด, ซีล, เมคคานิคคอลซีล ชำรุด เสีย รั่ว, ท่อสั่น หน้าแปลนแตกบ่อย เร็วผิดปกติ  เครื่องจักรมีเสียงดัง สั่น อายุใช้งานสั้น สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย สูญเสียการผผลิต  ผลิตภัณฑ์ สินค้า ไม่ได้คุณภาพ ปัญหาเหล่านั้น คือสัญญาณบ่งบอก 60 -70 เปอร์เซ็นต์ มาจากปัญหาการปรับตั้งเส้นตรงแนว Alignment ไม่ถูกต้อง ไม่อยู่ในค่าพิกัดที่จะยอมรับได้
สิ่งที่คุณจะได้รับ
   1.  มีความรู้ ความเข้าใจสามารถประกอบ ติดตั้งเครื่องจักร ให้ถูกต้องตั้งแต่แรก
   2.  สามารถใช้เครื่องมือ Dial gauge  ปรับตั้งแนวศูนย์กลางระหว่างเพลา Alignmentได้อย่างถูกต้อง
   3.  ค่าพิกัดการปรับตั้งแนวศูนย์ Alignment  ที่ถูก ยอมรับได้
   4.  สามารถปรับตั้งแนวศูนย์ Alignment ด้วยไดอัลเกจ วิธี  Rim And Face (ขอบ และผิว ระหว่างหน้าแปลน)ได้
   5.  โปรแกรมปรับตั้งAlignment วิธี Rim And Face และ วิธี Double Reverse
   6.  แบบฟอร์มรายงาน ใช้งานได้ทันที  

สอนสดออนไลน์ผ่านทาง Zoom

หัวข้ออบรมสัมมนา
หัวข้อการอบรมสัมมนา
เวลา 09.00 – 16.00 น.
   1.  ความรู้ ความเข้าใจ และความหมายของการปรับตั้งแนวศูนย์ Alignment คืออะไร
   2.  การติดตั้งเครื่องจักรให้ได้แนวศูนย์ Alignment ตามต้องการ เริ่มที่ไหนทำอย่างไร ?
   3.  ทำไมต้องมีการปรับตั้งแนวศูนย์ Alignment เครื่องจักร ทำแล้วได้ประโยชน์   อะไร  
   4.  สาเหตุ ที่ทำให้แนวศูนย์ ผิดเสียไปจากที่กำหนด(Misalignment)มีอะไรบ้าง
   5.  ค่าพิกัดแนวศูนย์ที่ยอมรับได้  มีค่าอะไร เท่าไร( Alignment Tolerance )
   6.  วิธีการปรับตั้งแนวศูนย์ มีกี่วิธี มีอะไรบ้าง ( Alignment Method )
   7.  ขั้นตอนเตรียมการ ก่อนทำ Alignment ด้วยวิธี Rim And Face (ที่ขอบ และผิวหน้า ระหว่างหน้าแปลน)
           -  Softfoot  คืออะไร  ทำ ทำไม?
           -  Coupling Run-out คืออะไร ทำ ทำไม?
           -  Coupling Runout  คืออะไร ทำ ทำไม?
           -  Piping Strain คืออะไร ทำ ทำไม?
           -  Thermal Growth  คืออะไร ทำ ทำไท?                              
   8.  การปรับตั้งแนวศูนย์ 3 ขั้นตอน
   9.  การปรับตั้งแนวศูนย์  Alignment ด้วย Dial Gauge วิธี Rim & Face (ที่ขอบ และผิวหน้าแปลน) การคำนวณปรับตั้งแผ่นชิม(Shim)เสริม – ลด รองแท่นเครื่องจักร
   10.  ฝึกภาคปฏิบัติ  จากเครื่องจักรจำลอง และการรายงานผล ลงบนแบบฟอร์มมาตรฐาน
   11.  การใช้โปรแกรมปรับตั้ง Alignment ด้วย Dial Gauge วิธี Rim & Face และวิธี Double Reverse
 
วิทยากร
ภาษาในการบรรยาย
ไทย
ประกาศนียบัตร

สัมมนานี้ได้รับประกาศนียบัตร

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
อย่าลืมบอกผู้จัดงานว่าเห็นประกาศจากเวป "สัมมนาดีดี" นะคะ
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท:SeminarDD Academy
ชื่อผู้ประสานงาน:ผู้จัดงาน
เบอร์โทรศัพท์ :097-474-6644
สอนสดออนไลน์

หากท่านต้องการสมัคร การปรับตั้งแนวศูนย์กลางระหว่างเพลา(Alignment) ด้วยไดอัลเกจ(Dial gauge) ภาคปฏิบัติ พร้อมโปรแกรม
กรุณากดปุ่ม 'สมัครเข้าฟัง' ด้านล่างนี้


เข้าฟังสัมมนาผ่านแพลตฟอร์ม Zoom

ค่าฝึกอบรมสามารถหักค่าใช้จ่ายทางภาษีนิติบุคคลได้ 200%
ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd

หลักสูตรนี้สามารถจัดแบบ In-House Training (สอนเฉพาะองค์กรของคุณ) ได้ทั้งแบบ Onsite และ Online ขอใบเสนอราคา In-house Training

คำค้นประกาศนี้ Tags: การปรับตั้งแนวศูนย์กลางระหว่างเพลา(Alignment), ไดอัลเกจ(Dial gauge) ภาคปฏิบัติ, Dial gauge ภาคปฏิบัติ พร้อมโปรแกรม

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

หลักสูตร เจาะลึกกระบวนการนำเข้า (Deep Import)

ขอเชิญอบรม หลักสูตร เจาะลึกกระบวนการนำเข้า (Deep Import) #การนำเข้า ก็คือ การทำพิธีการศุลกากร ซึ่งจะต้องดำเนินการตามกฎระเบียบของกรมศุลกากรอย่างเคร่งครัด และการดำเนินนั้นมีขั้นตอนที่มีรายละเอียดมาก จนต้องมีผู้มาดำเนินการแทนผู้นำเข้า

หลักสูตร มาเป็นผู้นำหน่วยงาน..จัดซื้อกัน (Be Purchasing Leader)

ขอเชิญอบรม หลักสูตร มาเป็นผู้นำหน่วยงาน..จัดซื้อกัน (Be Purchasing Leader) เมื่อคุณต้องมารับผิดชอบหน่วยงานจัดซื้อ ก็ช่วยไม่ได้ที่คุณจะต้องรู้ว่า งานจัดซื้อ เป็นอย่างไร! ต้องรับผิดชอบ อะไร ! และต้องทำอะไรบ้าง ! และต้องรู้อะไรบ้าง!