หลักสูตร เตรียมความพร้อม....ร่าง พรบ. วิชาชีพ HR กับอีก 2 กฎหมายสำคัญ

รหัสหลักสูตร: 67541

จำนวนคนดู 1554 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม
หลักสูตร เตรียมความพร้อม....ร่าง พรบ. วิชาชีพ HR กับอีก 2 กฎหมายสำคัญ
รอบที่

-

ยังไม่มีรอบจัดในขณะนี้

ท่านสามารถลงทะเบียนล่วงหน้าเพื่อรับการแจ้งเตือนเมื่อมีรอบใหม่

หลักการและเหตุผล

•  กฎหมายใหม่ที่จะส่งผลกระทบกับองค์กรและคนทำงาน HR อย่างเป็นนัยสำคัญ เมื่องาน HR จะถูกกำหนดให้เป็นวิชาชีพตามกฎหมาย

•  คนทำงาน HR ต้องมีคุณวุฒิและผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่กฎหมายกำหนด จึงจะสามารถทำงาน HR ได้

•  พิเศษ! เพิ่มเติม เจาะประเด็น พรบ. สมรสเท่าเทียม และ พรบ. ปรับเป็นพินัย มีผลกระทบกับองค์กรและงาน HR อย่างไร

•  สิ่งที่องค์กรต้องเตรียมความพร้อมรับมือกับกฎหมายทั้ง 3 ฉบับ

หัวข้ออบรมสัมมนา
  • วิเคราะห์และสรุปสาระสำคัญร่างพระราชบัญญัติวิชาชีพ HR

                  - เหตุผลและความเป็นต้องมี พรบ. วิชาชีพ HR
                  - สภาวิชาชีพ HR คือใคร มีบทบาทหน้าที่และวัตถุประสงค์ อย่างไร
                  - คณะกรรมการสภาวิชาชีพ HR เป็นใครได้บ้าง มาจากไหน มีคุณสมบัติอย่างไร
                  - มาตรฐานวิชาชีพ HR หมายถึงอะไร
                  - ผู้ประกอบวิชาชีพ HR หมายถึงใครบ้าง
                  - สมาชิกสภาวิชาชีพ HR มีกี่ประเภท มีบทบาทหน้าที่ และคุณสมบัติอย่างไร
                  - การกำกับดูแลการประกอบวิชาชีพ HR ตามกฎหมาย
                  - บทกำหนดโทษ

  • คณะกรรมการจรรยาบรรณตาม(ร่าง)พระราชบัญญัติวิชาชีพ HR
                  - คณะกรรมการ คือใคร

                  - มีอำนาจหน้าที่ในการดำเนินการด้านจรรยาบรรณกับผู้ประกอบวิชาชีพ HR อย่างไร

  • กรณีศึกษาและตัวอย่างจรรยาบรรณวิชาชีพ HR
  • คนทำงาน HR ต้องขึ้นทะเบียนและได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพบริหารทรัพยากรบุคคล จึงจะทำงานด้าน HR ได้ใช่หรือไม่
  • จะประกอบวิชาชีพ HR ต้องเป็นสมาชิกสภาวิชาชีพหรือไม่ และต้องเสียค่าสมาชิกหรือไม่
  • จะขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ HR ต้องทำอย่างไร มีหลักเกณฑ์อย่างไร
  • กรณีศึกษา เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ และคุณวุฒิวิชาชีพ HR มีกี่ระดับ มีลักษณะอย่างไร
  • “ผู้ประกอบวิชาชีพบริหารทรัพยากรบุคคล” กับ “ผู้ประกอบวิชาชีพรับอนุญาต” มีบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบแตกต่างกันอย่างไร
  • บุคคลที่ประกอบอาชีพ HR ไม่มีใบอนุญาตจากสภาวิชาชีพฯ ยังคงสามารถทำงานด้าน HR ได้หรือไม่
  • พนักงาน HR ที่ทำงานอยู่ในปัจจุบันหรือก่อนวันที่กฎหมายบังคับใช้ จะมีผลกระทบอะไร และต้องเตรียมตัวอย่างไร
  • กรณีศึกษา กระบวนการขอรับรองมาตรฐานวิชาชีพ HR
  • กรณีศึกษา การฝึกอบรมและการทดสอบวัดผล เพื่อขอรับรองมาตรฐานวิชาชีพ HR
  • สถานภาพของ ร่าง พรบ. วิชาชีพ HR ขณะนี้อยู่ในขั้นตอนไหน จะบังคับใช้เมื่อใด
  • วิเคราะห์และสรุปสาระสำคัญ พรบ. สมรสเท่าเทียม

                  - ผลกระทบและสิ่งที่ HR ต้องเตรียมความพร้อม

  • วิเคราะห์และสรุปสาระสำคัญ พรบ. ปรับเป็นพินัย
                 - ผลกระทบและสิ่งที่ HR ต้องเตรียมความพร้อม

  • ถาม-ตอบปัญหาและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

วิทยากร
คุณสมบัติผู้เข้าฟัง/กลุ่มเป้าหมาย
  • ผู้บริหาร ผู้ประกอบการ และเจ้าหน้าที่ HR
ภาษาในการบรรยาย
ไทย
ประกาศนียบัตร

สัมมนานี้ได้รับประกาศนียบัตร

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
อย่าลืมบอกผู้จัดงานว่าเห็นประกาศจากเวป "สัมมนาดีดี" นะคะ
ชื่อหน่วยงาน/บริษัท:SeminarDD Academy
ชื่อผู้ประสานงาน:ผู้จัดงาน
เบอร์โทรศัพท์ :097-474-6644

หากท่านต้องการสมัคร หลักสูตร เตรียมความพร้อม....ร่าง พรบ. วิชาชีพ HR กับอีก 2 กฎหมายสำคัญ
กรุณากดปุ่ม 'สมัครเข้าฟัง' ด้านล่างนี้


ค่าฝึกอบรมสามารถหักค่าใช้จ่ายทางภาษีนิติบุคคลได้ 200%
ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd

หลักสูตรนี้สามารถจัดแบบ In-House Training (สอนเฉพาะองค์กรของคุณ) ได้ทั้งแบบ Onsite และ Online ขอใบเสนอราคา In-house Training

คำค้นประกาศนี้ Tags: พรบ. วิชาชีพ HR, สภาวิชาชีพ HR, ผู้ประกอบวิชาชีพ HR, จรรยาบรรณวิชาชีพ HR, รับรองมาตรฐานวิชาชีพ HR, คุณวุฒิวิชาชีพ HR มีกี่ระดับ

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

การวิเคราะห์รากเหง้าของปัญหา ความเสี่ยง ข้อบกพร่อง ผลกระทบและการแก้ไขปัญหาอย่างเ...

การจัดการและการแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานขององค์กรนั้นมีความสำคัญเป็นอย่างมาก เพราะต้องอาศัยกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ เพื่อป้องกันแก้ไขปัญหาไม่ให้กลับมาเกิดซ้ำอีก ไม่ว่าจะเป็นการแก้ไขปัญหาโดยการปฏิบัติการเพื่อแก้ไข (Corrective Action) เพื่อความอยู่รอดและเต

หลักสูตร มาเป็นผู้นำหน่วยงาน..จัดซื้อกัน (Be Purchasing Leader)

ขอเชิญอบรม หลักสูตร มาเป็นผู้นำหน่วยงาน..จัดซื้อกัน (Be Purchasing Leader) เมื่อคุณต้องมารับผิดชอบหน่วยงานจัดซื้อ ก็ช่วยไม่ได้ที่คุณจะต้องรู้ว่า งานจัดซื้อ เป็นอย่างไร! ต้องรับผิดชอบ อะไร ! และต้องทำอะไรบ้าง ! และต้องรู้อะไรบ้าง!