อบรมสัมมนาเรื่อง“สารพันปัญหาภาษีหัก ณ ที่จ่าย”

รหัสหลักสูตร: 14609

จำนวนคนดู 9482 ครั้ง
กดเพื่อแจ้งสัมมนาไม่เหมาะสม

สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว

ลงชื่อเพื่อจองสัมมนาในรอบถัดไป
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd

09.00น. -  10.30น.เรียนรู้ถึง หน้าที่ในการหัก ณ ที่จ่ายของบุคคลธรรมดาและนิติบุคคลที่ถูกต้อง 1.30 ชั่วโมง

1. หน้าที่ ในการหัก ณ ที่จ่ายของบุคคลธรรมดา และนิติบุคคล

2. การหัก ภาษี ณ ที่จ่าย กรณีเงินเดือน ค่าจ้าง ค่าจ้างทำของ 

  • Ø ¨ หักภาษี ณ ที่จ่ายจากเงินเดือนอย่างไร  ต้องนำโบนัส และค่าล่วงเวลามารวมด้วยหรือไม่
  • Ø ¨ ต้องหักภาษี ณ ที่จ่ายจากประโยชน์เพิ่มพนักงานหรือไม่ เช่นการได้พักฟรี อาหารฟรี โทรศัพท์ฟรีและต้องหักอย่างไร
  • Ø ¨ กรณีนายจ้างออกภาษีให้จะ คำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่ายอย่างไร

3.  การ หักภาษี ณ ที่จ่ายสำหรับเงินได้ที่จ่ายให้บริษัทต่างประเทศ  ไม่ได้ประกอบกิจการ ในประเทศไทย เช่น ค่าสิทธิ์ ดอกเบี้ย  เงินปันผล

4.    กรณีศึกษา

10.45 น.—12.15 น. หลักเกณฑ์การหักภาษี ณ ที่จ่ายในกรณีซื้อสินค้า ค่าตอบแทน การเช่าทรัพย์สินที่ถูกต้องตามหลักกฎหมายสรรพากร 1.30 ชั่วโมง

1. การหักภาษี ณ ที่จ่าย จากการซื้อสินค้าหรือการชำระค่าบริการที่มีค่าสิทธิ แฝงอยู่

  • Ø ¨ การหักภาษี ณ ที่จ่ายกรณีการจ่ายค่าลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร หรือค่าเครื่องหมายการค้า
  • Ø ¨ การหักภาษี ณ ที่จ่ายกรณีซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์พ่วงsoftware       
  • Ø ¨ กรณีค่าจ้างพัฒนา software  หาก ลิขสิทธิ์เป็นของผู้ว่าจ้าง หรือลิขสิทธิ์เป็นของผุ้รับจ้างพัฒนาต้องหักภาษีอย่างไร

2. การหักภาษี ณ ที่จ่ายของผลตอบแทนจากการลงทุน และ

    ค่าธรรมเนียม

  • Ø ¨ ดอกเบี้ยเงินกู้ธนาคาร ดอกเบี้ยจากการกู้ยืมเงินบริษัทในเครือ
    เงินปันผล
  • Ø ¨ค่าธรรมเนียมธนาคารต่างๆ เช่นค่าโอนเงิน แลกเปลี่ยนเงินตรา

3. การให้เช่า ทรัพย์สิน

  • Ø ¨ การหักภาษีจากเงินมัดจำ
  • Ø ¨ เช่าคลังสินค้าเป็นการ เช่าหรือการบริการรับฝากสินค้า และหักภาษี ณ ที่จ่ายอย่างไร
  • Ø ¨ การหักภาษี ณ ที่จ่ายกรณีค่าจ้างทำป้ายและค่าเช่าป้าย หากใบเสร็จไม่ได้แยกค่าเช่าป้ายโฆษณา กับค่าจ้างทำป้าย ออกจากกัน
  • Ø ¨ การหักภาษี ณ ที่จ่ายจากการให้เช่าพื้นที่ห้างสรรพสินค้า      

 

13.30น.– 15.30น. ความแตกต่างของเงินได้และการหักภาษี ณ ที่จ่ายกรณีส่งเสริมการขาย และ เงินได้จากการรับเหมา ที่ฝ่ายบัญชีควรรู้ ๒๐๑๒ 1.30 ชั่วโมง

1. ความแตกต่างของ เงินได้ตามมาตรา 40 (2) (6) (8) และการหักภาษี ณ ที่จ่าย

  • Ø ¨ ความแตกต่างระหว่างการขาย สินค้า กับการรับจ้างทำของ เช่น การสร้างห้องเย็นในธุรกิจอาหาร
  • Ø ¨ ความแตกต่างระหว่างขนส่ง กับการเช่ารถ
  • Ø ¨ การหักภาษี ณ ที่จ่ายจากค่ารักษาพยาบาล เช่น จ่ายให้หมอ หรือจ่ายให้กับโรงพยาบาล
  • Ø ¨ ความแตกต่างระหว่างการขน ส่งและการบริการ
    - ค่าตั๋วรถทัวร์ ตั๋วเครื่องบิน
    - การจ่ายค่าขนของให้กับสายการบินที่รับขนส่งสาธารณะ

2. ภาษีหัก ณ ที่จ่ายจากการส่งเสริมการขาย

  • Ø ¨ กรณีลด แลก แจก แถม การชิงโชค การส่งเสริมการขาย
  • Ø ¨ การจ่ายค่าสื่อโฆษณาผ่านagencyโดยใบเสร็จไม่ได้แยกค่า บริการกับค่าโฆษณา

3. ภาษี หัก ณ ที่จ่ายของเงินได้จากการรับเหมา

  • Ø ¨ ความแตกต่างของเงินได้ตาม มาตรา 40 (2) และ 40 (7)
  • Ø ¨ กรณีจ่ายเงินประกัน เงินจอง เงินมัดจำ เงินจ่ายล่วงหน้า เงินทดรองจ่าย
  • Ø ¨ การหักภาษี ณ ที่จ่ายกรณีแยกสัญญาซื้อขาย กับ สัญญาให้บริการ หรือกรณีสัญญาแยกมูลค่าของสินค้า กับมูลค่าของบริการ

4. การหักภาษีการจ่ายค่าบริการต่างๆ และการจ่ายให้นักแสดงสาธารณะมีความแตกต่างกันอย่างไร หักในอัตราใด

15.45น. - 17.00 น. Update ประเด็นปัญหาภาษีหัก ณ ที่จ่ายกรณีเงินได้จากกิจการพาณิชย์และเรียนรู้ถึงวิธี แก้ไขปัญหากรณียื่นแบบเกินกำหนดเวลา ที่ถูกต้อง 1.30ชั่วโมง

1. ภาษีหัก ณ ที่จ่ายกรณี เงินได้จากกิจการพาณิชย์

  • Ø ¨ ซื้อสินค้าโดยมีบริการติด ตั้งหรือมีการให้บริการพร้อมจัดหาสินค้า ให้จะหักภาษีอย่างไร
  • Ø ¨ กรณีการจ่ายเบี้ยประกัน ชีวิต เบี้ยประกันวินาศภัย
  • Ø ¨ ค่าโทรศัพท์ ค่าไฟฟ้า ค่าประปา

2.  ปัญหา ในการปฏิบัติ

  • Ø ¨ กรณีผู้จ่ายเงินได้ไม่ได้ หักภาษี ณ ที่จ่ายไว้ หรือผุ้รับเงินไม่ยอมให้หัก ภาษี ณ ที่จ่าย
  • Ø ¨ กรณีออกภาษีแทนผู้รับเงิน
  • Ø ¨ กรณีหักภาษี ณ ที่จ่ายผิดอัตรา
  • Ø ¨ กรณีออกหนังสือรับรองหัก ภาษี ณ ที่จ่าย ผิด
  • Ø ¨ กรณีการยื่นแบบหัก ณ ที่จ่ายเกินกำหนดหรือไม่ยื่นแบบจะแก้ไขอย่างไร                 
ต้องการลงชื่อ waiting list กดได้ที่นี่เลยค่ะ
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
สามารถติดต่อได้ที่
โทร. 097-474-6644
อีเมล์ [email protected]
ไลน์ไอดี @seminardd

หลักสูตรฝึกอบรมอื่นๆที่น่าสนใจของผู้จัด

หลักสูตร การตรวจประเมินผู้ขายอย่างมืออาชีพ (Supplier Audit as Professional)

การตรวจประเมินผู้ขายนั้น เป็นหน้าที่หนึ่งของหน่วยงานจัดซื้อ/จัดหา ที่สำคัญมากๆ และ การตรวจประเมินผู้ขาย อยู่ภายใต้กระบวนการคัดเลือกผู้ขาย ซึ่งจะได้เรียนรู้ คุณสมบัตการแต่งตั้งทีมในการคัดเลือกผู้ขาย, กระบวนการตรวจประเมิน, เทคนิคในการเป็นผู้ตรวจประเมิน