การเตรียมพร้อมและเทคนิคในการปฏิบัติพิธีศุลกากรและการตรวจปล่อยเพื่อ รองรับ POST AUDIT ( รุ่นที่ 2 )
รหัสหลักสูตร: 25807
สัมมนานี้ผ่านไปเรียบร้อยแล้ว
(ถ้ามีจัด ท่านจะได้สิทธิ์ก่อน)
Post Audit ของกรมศุลกากร เพื่อที่ผู้ประกอบการจะได้สามารถปฏิบัติให้ถูกต้องครบถ้วนตามกฎหมายตลอดจนระเบียบที่กรมศุลกากรกำหนดทั้งนี้เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศตามมาตรฐานสากล อย่างไรก็ตามการปฏิบัติพิธีศุลกากรให้ถูกต้องครบถ้วนเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยากลำบากสำหรับผู้ประกอบการที่จะศึกษาหรือดำเนินการด้วยตัวเอง
การจัดอบรมสัมมนาครั้งนี้จะช่วยให้ผู้ประกอบการทราบถึงข้อกฎหมายและข้อควรปฏิบัติในพิธีศุลกากรอย่างถูกต้องรวมทั้งมีการแสดงกรณีตัวอย่างของปัญหาที่เกิดขึ้นจากผู้ประกอบการแม้จะเป็นความไม่จงใจที่จะปฏิบัติผิดกฎหมายเพื่อเป็นการป้องการไว้ก่อนที่จะเกิดปัญหาดังกล่าวขึ้น
“ความผิดตามกฎหมายศุลกากรและกฎหมาย / ระเบียบปฏิบัติอื่นที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้า-ส่งออกอาจเกิดขึ้นได้ทั้งในระหว่างก่อน / หลังการปฏิบัติพิธีการศุลกากรการรู้เทคนิควิธีการต่างๆ จึงเป็นการเตรียมพร้อมเพื่อรองรับ PostAudit ”
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ผู้ร่วมการสัมมนาได้รับความรู้ความเข้าใจ เทคนิควิธีการ เบื้องต้นเกี่ยวกับการตรวจสอบหลังการตรวจปล่อยรวมตลอดถึงหลักเกณฑ์การตีความ และข้อควรปฏิบัติในพิธีศุลกากร โดยมีการยกตัวอย่างประกอบการสัมมนาเพื่อง่ายแก่การเข้าใจ
2.
3. เพื่อให้ทราบถึงแนวทางวิธีการในการวินิจฉัยข้อกฎหมายของเจ้าหน้าที่ศุลกากรและคำพิพากษาของศาลเพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันและแก้ไข
( บรรยาย 3 ชั่วโมง )
ความหมายของการตรวจสอบหลังการตรวจปล่อย
-
-
-
-
· (Pre Clearance Control)
· (Clearance Control)
· (Post Clearance Control)
üüüü-
-
-
-
-
-
ภาคบ่าย( บรรยาย 3 ชั่วโมง )
-
-
- “หมายเหตุ” “หมวด” “ตอน” ในการจัดสินค้าเข้าประเภทพิกัด
- “สาระสำคัญ” ในตัวสินค้า
-
- Laser Pointer ที่มีปลายอีกด้านหนึ่งเป็นปากกา ( จัดเป็นพิกัดปากกาหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิคส์ ) หรือหมวกใส่ตีกอล์ฟที่มีวิทยุติดที่หมวก (จัดเป็นพิกัดหมวก หรือวิทยุ )ฯลฯ
-
- E /N ( Explanatory Note ) ต่อพิกัด
- Advance Ruling ตามความตกลง GATTข้อที่ 10 เป็นอย่างไร ต้องดำเนินการอย่างไรจึงจะถูกต้องตามระเบียบวิธีปฏิบัติของกรมศุลกากร
-
-
-
-
- เทคนิค “การยื่นอุทธรณ์พิกัด”และ “การจัดเตรียมข้อมูล เอกสาร”